Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนารูปแบบการจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่กรณีศึกษาภัยจากความยากจน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สิงห์ทอง หมีทอง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง การพัฒนารูปแบบการจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่กรณีศึกษาภัยจากความยากจน ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี สิงห์ทอง หมีทอง หลักสูตร วปอ. รุ่นที การศึกษาวิจัยในครังนีเป็ นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Study) ในรูปแบบการ ฝึ กอบรม เพือพัฒนารูปแบบการจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่กรณีศึกษาภัยจากความยากจน สําหรับกลุ่ม สหสาขาวิชาชีพ (Multi-Disciplinary Teamwork) ณ จังหวัดกาญจนบุรี โดยมี วัตถุประสงค์ เพือศึกษารูปแบบการจัดการภัยจากความยากจน รวมทังปัญหาอุปสรรคการจัดการภัย ความยากจนและเพือกําหนดรูปแบบการจัดการภัยจากความยากจน ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มสหสาขา วิชาชีพ ซึงได้เข้าร่วมการฝึ กอบรม จํานวน 48คน คิดเป็ นสัดส่วนการตอบสนอง 96% เมือเทียบกับ กลุ่มสหสาขาวิชาชีพ จากทังหมด50คน จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า การใช้แนวคิดการใช้ปัญหาเป็ น ฐาน (Problem-Based Learning) และแนวคิดอนาคตศึกษา (Future Studies) ภายใต้รูปแบบและ เทคนิควิธีการสอนทีหลากหลาย เช่น การศึกษากลุ่มย่อย การจําลองยุทธ การฝึ กภาคสนาม เพือให้ การจัดการฝึ กอบรมมีประสิทธิภาพนัน สามารถพัฒนาการเรียนรู้ของกลุ่มสหสาขาวิชาชีพ เพือ นําไปสู่การแก้ไขปัญหา ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ภัยความยากจนได้

abstract:

ABSTRACT Title To development of model non- traditional threats management Field Military Name Maj.Gen. Singthong meethong Course NDC Class 57 The study was a descriptive study in the form of training to develop a non-traditional threat management, in the case of poverty threat, of the Multi-Disciplinary Teamwork at Kanchanaburi province. The objectives of this study are to study the management model for poverty threat, to study the problems and troubles of the management for poverty threat, and to determine the management model for poverty threat. The results showed that there are 48 participants from the total of 50 members of the Multi-Disciplinary Team, which is 96%, participated in this training. The findings can be concluded that the using of Problem-Based Learning model and the Future Studies model for effective training, under the various forms and methods of teaching such as small group study, battle simulation, and field training exercise, can develop the learning of Multi-Disciplinary Team in order to solve a non-traditional threat, in the case of poverty threat.