Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเพิ่มขีดความสามารถให้กับข้าวอินทรีย์ไทยไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สาโรจน์ สุวัตถิกุล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง การเพิ มขีดความสามารถในการแข่ งขันให้ กับข้ าวอินทรีย์ ไทยไปสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย สาโรจน์ ส ู ุวัตถิกล หลักส ุ ูตร วปอ. ร่นที 57 ุ การศึกษาครั งนี นี มีวัตถุประสงค์ เพือศึกษาสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจในการส่งออก ข้าวอินทรีย์ไทยสู่สมาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพือกาหนดแนวทางในการเพิ ํ มขีดความสามารถให้กบข้าว ั อินทรี ย์ไทยสู่สมาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยการและสัมภาษณ์เชิงลึกใน 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เกษตรกรทีปลูกข้าวอินทรีย์และจากทูตพาณิชย์ในแต่ละประเทศในสมาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลจาก การศึกษาพบว่า ตลาดข้าวในประเทศสิงคโปร์ การบริโภคข้าวของคนสิงคโปร์จากจํานวนประชากร กวา 5.4 ล้านคน เป็ นคนจีน (74.2%) และมุสลิมมาเลย์ (13. ่ 3%) สําหรับข้าวอินทรีย์จะอยูในกลุ ่ ่มคนที เป็ นชาวจีน เฉพาะทีใส่ใจในสุขภาพเท่านั นประมาณร้อยละ 5 ตลาดข้าวในฟิ ลิปปิ นส์ยังไม่มีการเปิ ด ให้นําเข้าข้าวรวมถึงข้าวอินทรีย์อยางเสรี เนืองจากข้าวถือเป็ นสินค้าอ ่ ่อนไหวในฟิ ลิปปิ นส์ การส่งข้าว อินทรีย์ไทยไปยังประเทศกมพูชามีความเป็ นไปได้น้อย เพราะสามารถผลิตได้เองโดยไม ั ่ต้องนําเข้า ไม่ มีความต้องการข้าวอินทรีย์ไทยในประเทศกมพูชา มีแต ั ่นําเข้าข้าวสาร ข้าวเหนียวจากไทย ตลาดข้าว มาเลเซียราว AB% ของตลาดสินค้าอินทรีย์มุ่งไปทีผู้ทีอาศัยอยูในแถบ Klang Valley โดย KB% เป็ น ่ กลุ่มคนทีอาศัยอยู่ในรัฐยะโฮร์ ซึ งรวมถึงกลุ่มคนสิงคโปร์ทีเข้ามาซื อสินค้าในรัฐยะโฮร์ และ KM% เป็ นกลุ่มคนทีอาศัยอยู่ทีปี นัง อุปสงค์ต่อสินค้าอาหารอินทรีย์ยังคงอยู่ระดับตํา แต่ในปัจจุบันตลาด อินทรีย์ในมาเลเซียกาลังพัฒนาขึ ํ นอย่างดีด้วยอุปสงค์ ในปัจจุบันทีเกินกว่าอุปทาน สปป.ลาว ได้ ส่งเสริมการเพาะปลูกข้าวแบบเกษตรอินทรีย์เพิมขึ น ดังนั น การนําเข้าข้าวอินทรีย์ไทยในสปป.ลาว อาจมีปริมาณลดลง ประกอบกบสั ่วนใหญ่บริโภคข้าวเหนียวเป็ นหลัก ส่วนการส่งข้าวอินทรีย์ไทยเข้า ในเมียนมาร์ ทําได้ยากเพราะส่วนใหญ่พม่าบริ โภคข้าวในประเทศตนเองเท่านั น แต่อาจเข้าไปใน ลักษณะเป็ นส่วนหนึ งของสายการผลิตข้าว ประเทศเวียดนามไม่มีการตั งเป้ าหมายและนําเข้าข้าว เนืองจากเวียดนามส่งออกข้าวแข่งกบไทย รวมทั ั งประชากรมีรายได้ไม่สูงมาก จึงนิยมปลูกเองเพือ บริโภค ดังนั นแนวทางการเพิมขีดความสามารถข้าวอินทรีย์ไทยมี 3 ระยะได้แก่ ระยะสั น ระยะปาน กลาง และระยะยาว โดยระยะสั นเน้นการทําการตลาด เช่น การสร้างภาพลักษณ์สิ นค้าข้าวและ ผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ไทย ในระยะปานกลาง คือการช่วยเหลือเกษตรกรและการพัฒนาของภาครัฐ เช่น กาหนดเขตพื ํ นทีส่งเสริมการปลูกข้าวตามศักยภาพของพื นที การสร้างมูลค่าเพิมสินค้าข้าว โดย การเพิมศักยภาพการแปรรูป การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการเพิมขีดความสามารถในระยะยาว คือ ส่งเสริมบริการด้านการศึกษาการทําข้าวอินทรีย์ ผลิตและพัฒนาบุคลากรในภาคการผลิตทีแท้จริง รวม ไปถึงจุดทีสําคัญทีสุดคือการสร้างมูลค่าให้กบผลผลิตข้าวด้วยการใส ั ่ภูมิปัญญาของเกษตรกร เพือ ยกระดับการส่งออกข้าวอินทรีย์สู่ความเป็ นหนึงในเออีซี

abstract:

ABSTRACT Title: Increasing Competitiveness of Thai Organic Rice for Asean Economic Community Field: Economics Name: Mr. Sarote Suwattigul Course NDC Class 57 The objective of this research paper is to study the business environment for the export of Thai organic rice for Asean Economic Community in order to provide the guideline to increase competitiveness of Thai organic rice for Asean Economic Community. The research is based on in-depth interviews of two sampling groups which are organic rice farmers and commercial attache in each member con try of the Asean Economic Community. The results show that for the rice market in Singapore whose population is more than 5.4 millions consisting of 74.2% Chinese ethnics and 13.3% Muslim Malays ethnics, only about 5% of the Chinese ethnics who are health conscious do consume organic rice. The Philippines has not allowed imports of rice including organic rice since the rice is considered sensitive commodity in the Philippines. There is a little opportunity for the export of Thai organic rice to Cambodia because of sufficient home grown production and there is no demand for organic rice except for regular rice and sticky rice. For Malaysia’s rice market, about 65% of organic products are for the people who live in Klang Valley and about 15% are the people who live in Johor State including Singaporeans who come to buy goods in this state, and about 10% are the people who live in Penang. The demand for organic foods is still small, but currently the demand for organic foods in Malaysia is on the increasing trend and is exceeding the supply. Lao People's Democratic Republic have been promoting and supporting more organic rice production which will reduce the demand for the import of the organic rice, in addition, the majority of the Laos prefer sticky rice. The export of Thai organic rice to Myanmar is difficult because Myanmar people only consume rice produced in their own country; however, there is an opportunity for Thailand to export organic rice as a part of the rice production. Vietnam is not the prospect for the export of Thai organic rice because of their abundant rice production and they are the competitor for rice export. In addition, the income per capita for the Vietnamese is still low so they prefer to grow rice for their own consumption. The suggested guideline to increase the competitiveness for Thai organic rice is proposed in 3 stages; short term, medium term and long term. The short term term should emphasise on the creation of good image and quality of Thai organic rice and foods. The medium term should aim to support Thai farmers and preparation of the relevant government agencies such as allocation of organic rice production zones in accordance to potential and suitability of the land and farmers, create value-add to rice product and capability for agricultural processing. The long term plan should aim to promote and support the knowledge transfer for organic rice production technology as well as human resource development in the agricultural sector, and the most important objective is to create value-add for rice products by means of the intellectual of farmers to promote the export of Thai organic rice to become the leading organic rice exporter in the Asean Economic Community.