เรื่อง: รูปแบบการพัฒนาการอาชีวศึกษาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, รองศาสตราจารย์ ดร. สันชัย อินทพิชัย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง รูปแบบการพัฒนาการอาชีวศึกษาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชมคมอาเซียน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.สันชัย อินทพิชัย หลักสูตร วปอ.รุ่นที่ ๕๗
การวิจัยเรื่องรูปแบบการพัฒนาการอาชีวศึกษาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชมคมอาเซียน เป็น
งานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมุ่งเน้นการศึกษาข้อมูลเชิงเอกสาร งานวิจัย และสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่ม
บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาการอาชีวศึกษาจ านวน ๖ ท่าน น าข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงเหตุผล
สรุปเป็นรูปแบบการพัฒนาการอาชีวศึกษาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชมคมอาเซียน
ผลการวิจัยพบว่ารัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้ความส าคัญกับการศึกษาด้าน
อาชีวศึกษา โดยก าหนดเป็นวาระแห่งชาติ ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมการด าเนินการจัดการการศึกษา
อย่างจริงจังต่อเนื่อง และมีทิศทางเป้าหมายเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างชัดเจน กระบวนการคัดสรร
คนที่เข้ามาศึกษาต่อด้านอาชีวศึกษาต้องพิจารณาทั้งด้านความถนัดทางช่าง เจตคติ และความรู้ทฤษฎี
พื้นฐานที่จ าเป็น กระบวนการผลิตต้องมีสถานที่ ครุภัณฑ์การฝึกที่เพียงพอ และสอดคล้องกับการใช้
งานของสถานประกอบการโดยใช้ระบบทวิภาคี และจะต้องให้ความรู้ด้านการจัดการศึกษาแก่สถาน
ประกอบการโดยการสร้างครูฝึกที่มีใบประกอบวิชาชีพในสถานประกอบการ โดยรัฐบาลต้องก าหนด
นโยบายความร่วมมือที่ชัดเจนให้ทั้งสองฝ่ายได้รับประโยชน์ร่วมกัน และมีกฎหมายรองรับที่เหมาะสม
การก าหนดเส้นทางอาชีพที่ท าให้ผู้ท างานสามารถพัฒนาตนเองและมีการรับรองโดยใช้คุณวุฒิวิชาชีพ
ที่ได้รับการยอมรับกันทุกภาคส่วน และเป็นสากล
ส่วนด้านบุคลากรสายวิชาการ ต้องยกระดับเป็นอาชีพชั้นสูงโดยมีสมาคมอาชีพที่เกี่ยวข้อง
รับรอง มีผลตอบแทนที่เหมาะสมกับการเป็นอาชีพชั้นสูงและเป็นไปตามความต้องการของการพัฒนา
ประเทศ อีกทั้งมีแนวทางการพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องจากการฝึกอบรมภาคทฤษฎีและร่วมฝึก
ปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ การปรับวิทยฐานะต้องสามารถใช้สิ่งประดิษฐ์หรือนวัตกรรมแทน
ผลงานที่เน้นเชิงทฤษฎีเท่านั้น และต้องสามารถใช้คุณวุฒิวิชาชีพรองรับการพัฒนาตนได้อย่างต่อเนื่อง
เช่นกัน
abstract:
Abstract
Subject: A vocational development Model for moving toward AEC.
Field of study: Social Psychology
Author: Associate Professor Sunchai Inthapichai, Ph.D., NDC 57,
The National Defence College of Thailand
This research aims to study a vocational development model for supporting AEC in term
of a qualitative research. The study focus on documentation oriented, research papers and indepth interviews of 6 persons who have been involved in vocational development model. The
data obtained was logical analyzed and a vocational development model for supporting AEC was
summarized.
The results revealed that the government and relevant agencies must prioritize to
vocational education by determining a national agenda. All sectors have to be involved in
conducting education seriously and successively with the explicit goal of national development.
In recruitment process, technical aptitude, attitude and theoretical basic knowledge are required
while in training process, proper workplace, and adequate training equipment consistent with the
establishment in dual system are required. Moreover, the instructors in establishment need to be
trained to achieve a professional license. Besides, a cooperative policy needs to be drawn by the
government with supporting law to benefit concerning agencies. In addition, a career path
allowing worker to develop themselves need to be determined and certified by a recognized
professional qualification in all sectors and internationally.
The academic staff must be recognized as a noble profession supporting by relevant
professional association with reasonable profit according to the country requirement. Selfdevelopment approach needs to be continuously conducted through theoretical training and
joint training in the establishment. To achieve the academic standing promotion, the invention or
innovation can also be considered instead of theoretical work. However, the professional
qualification has to be used as continually self-development as well.