เรื่อง: การเกษียณอายุราชการก่อนกำหนดของหน่วยกำลังรบกับการรักษาความมั่นคงของชาติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สวัสดิ์ ทัศนา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง การเกษียณอายุราชการก่อนกําหนดของหน่วยกําลังรบกับการรักษา
ความมันคงของชาติ
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรี สวัสดิ ทัศนา นักศึกษา วปอ. รุ่นที57
การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสาเหตุและปัจจัยทีทําให้การดําเนินโครงการ
เกษียณอายุราชการก่อนกําหนดของกระทรวงกลาโหมไม่บรรลุเป้ าหมายตามทีกําหนดไว้
และศึกษาผลกระทบด้านความมันคงทีเกิดขึนจากโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกําหนด
ในหน่วยกําลังรบ พิจารณาจากปัจจัย 3 ด้าน คือการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การบรรลุวัตถุประสงค์
ของโครงการฯและความเหมาะสมของโครงการฯ ซึงกลุ่มตัวอย่างทีศึกษาคือกําลังพลทีเข้าร่วม
โครงการจํานวน 400 นายและหัวหน้าหน่วยงานส่วนกําลังรบจํานวน 50 นาย ใช้วิธีการศึกษาโดย
การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกําหนดกับ
การตัดสินใจในการเข้าร่วมโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกําหนดของกระทรวงกลาโหมของ
กลุ่มตัวอย่าง ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าเฉลียด้วยค่าสถิติF-Test
ผลการศึกษาพบว่า การบริหารจัดการโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกําหนด
มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจในการเข้าร่วมโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกําหนดของ
กระทรวงกลาโหมทัง 3 ด้าน โดยโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกําหนดสามารถลดความคับคัง
ของกําลังพลได้จริงแต่สําหรับส่วนกําลังรบนันมีผู้เข้าร่วมโครงการฯ ค่อนข้างน้อย ประกอบกับ
ความคาดหวังในตําแหน่งและยศทีจะได้รับ ความกระตือรือร้นในการทํางาน การไม่มีอาชีพเสริม
รองรับหากตัดสินใจเข้าร่วมโครงการ และจํานวนเงินก้อนทีจ่าย 8 – 15 เท่าน้อยเกินไปไม่เป็ น
สิงจูงใจเท่าทีควรและในส่วนการรักษาความมันคงของหน่วยกําลังรบ ทังด้านข้อมูล งบประมาณ
และบุคลากร ไม่ส่งผลกระทบมากนัก เนืองจากการรักษาความมันคงในปัจจุบันมีเทคโนโลยี
สมัยใหม่เข้าร่วมด้วย ประกอบกับมีบุคลากรกําลังพลรุ่นใหม่ ๆ เข้ามาในส่วนกําลังรบค่อนข้างมาก
และสามารถเข้าใจเทคโนโลยีสมัยใหม่และเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว จึงทําให้การบริหารจัดการด้าน
ความมันคงในส่วนกําลังรบไม่มีปัญหาติดขัดหากมีกําลังพลสูงอายุเข้าร่วมโครงการเกษียณอายุ
ราชการก่อนกําหนด
abstract:
ABSTRACT
Title : Combat forces' early retirement and national security enforcement
Field : Military
Name : Major General Sawat Tassana Course NDC Class
The purposes of this research were to study causes and factors that
obstructed Ministry of Defence's early retirement program, and study security effect
which occurred from early retirement program of combat forces. Three factors were
considered in this research namely; information acknowledgement, objective
achievement and program appropriation. The sample consisted of 400 personnels and
50 Chiefs of Combat Forces. The data were analyzed by testing relationship between
early retirement program's management and personnels decision to join the program
by using mean variation of F-test statistic
This study found that the management of this early retirement program
had related to the decision to join the program in all three factors. The program could
reduce the personnel density. However, for Combat Forces, there was minimal
number of personnel who joined the program. If they decided to join the program,
rank and position which they expected to be promoted would not motivated.
Furthermore, a sum of money (8-15 times of salary) they would get from the
program was not motivated also. For security enforcement of Combat Forces,
information budget and personnel had not been much effected because security
enforcement nowadays has modern technology and young generation. They can
understand and study modern technology rapidly. As a result, there is no problem in
security administrative for Combat Forces if old personnel join early retirement
program.