เรื่อง: การประเมินผลความคุ้มค่าการก่อสร้างผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตให้สอดคล้องกับสภาพการใช้งานทางหลวง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สราวุธ ทรงศิวิไล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
-กบทคัดยอ
เรื่อง การประเมินผลความคุมคาการกอสรางผิวทางแอสฟลตคอนกรีตใหสอดคลองกับสภาพ
การใชงานทางหลวง
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นายสราวุธ ทรงศิวิไล หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
การวิจัยเรื่อง การประเมินผลความคุมคาการกอสรางผิวทางแอสฟลตคอนกรีต
ใหสอดคลองกับสภาพการใชงานทางหลวง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงขอดี ขอเสีย และขอจํากัดของ
ผิวทางแอสฟลตคอนกรีตที่ใชในกรมทางหลวง ไดแก ผิวทางแอสฟลตคอนกรีต AC-60/70, ผิวทาง
โพลิเมอรมอดิฟายดแอสฟลตคอนกรีต (Polymer Modified Asphalt Concrete), ผิวทาง
Warm Mix Asphalt (WMA) และผิวทางแอสฟลตคอนกรีตปรับปรุงคุณภาพดวยยางธรรมชาติ
(Natural Rubber Modified Asphalt Concrete) เพื่อหาความสัมพันธระหวางประสิทธิผลของ
ผิวทางแอสฟลตคอนกรีตแตละชนิดกับราคาตอหนวย ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการเลือกใชผิวทาง
แอสฟลตคอนกรีตใหเหมาะสมกับสภาพการใชงานทางหลวง โดยมีขอบเขตการวิจัยดานเนื้อหา
ครอบคลุมเฉพาะ 4 ชนิดผิวทางแอสฟลตคอนกรีตที่กลาวมาขางตนเทานั้น และการวิเคราะหขอมูล
โดยการนําขอมูลปฐมภูมิที่ไดจากการสัมภาษณเชิงลึกผูเชี่ยวชาญดานผิวทางแอสฟลตคอนกรีต
ประกอบกับขอมูลทุติยภูมิที่ไดจากการรวบรวมเอกสาร งานวิจัย บทความ วารสาร และ บันทึก
ขอความจากกรมทางหลวงเกี่ยวของกับตนทุนการผลิตและการกอสราง คุณสมบัติทางดานวิศวกรรม
ของผิวทางแอสฟลตคอนกรีตประเภทตางๆ และการนําไปใชประโยชน ดําเนินการจัดทําแบบสอบถาม
และวิเคราะหขอมูลโดยหาความสอดคลองของขอมูลเชิงสถิติ จากผลการวิจัย พบวา ผิวทางโพลิเมอร
มอดิฟายดแอสฟลตคอนกรีต (Polymer Modified Asphalt Concrete) หรือ PMA มีความ
เหมาะสมที่สุดทั้งในดานประโยชนการใชงานและในเชิงเศรษฐศาสตร เนื่องจากถึงแมวาราคาตอหนวย
คอนขางสูงกวาผิวทางแอสฟลตคอนกรีตชนิดอื่นๆ แตเมื่อเทียบกับคุณสมบัติทางวิศวกรรมและ
ประโยชนการใชงานถือวามีความคุมคามากที่สุด การเลือกใชผิวทางแอสฟลตคอนกรีตประเภทใดนั้น
นอกจากเหตุผลทางดานวิศวกรรม คุณสมบัติดานการนําไปใชงานและคุณสมบัติทางดานเศรษฐศาสตร
แลว ยังตองคํานึงถึงปจจัยอื่นๆ อีก เชน การตอบสนองตอนโยบายภาครัฐ ความตองการของชุมชน
การประหยัดพลังงานและเป]นมิตรตอสิ่งแวดลอม เป]นตน
abstract:
ABSTRACT
Title Evaluating the cost of asphalt concrete pavement construction in
accordance with the conditions of use highways.
Field Economics
Name Mr.Sarawut Songsivilai Course NDC Class 57
Research of Evaluating the cost of asphalt concrete pavement
construction in accordance with the conditions of use highways aims to study the
advantages/disadvantages or limitations of asphalt concrete pavement uses on the
highway, include asphalt concrete pavement AC-60/70, the Polymer Modified Asphalt
Concrete, Warm Mix Asphalt Concrete pavement (WMA) and the Natural Rubber
Modified Asphalt Concrete to determine the relationship between the effectiveness
of different types of asphalt concrete pavement on the price per unit. As well as
recommend the use of asphalt concrete pavement to suit operating conditions for
highways. The scope of the research covers four specific types of asphalt concrete
pavement mentioned above. And data analysis by primary data obtained by
interviewing experts of asphalt concrete pavement. The secondary data gathered
from research papers, journals and notes from the Department of Highways. Related
to the cost of manufacturing and construction with the engineering properties of
asphalt concrete pavement. And utilization conduct surveys and analyze the data to
find the consistency of statistical data. The results showed that the pavement of the
polymer modified asphalt concrete or PMA are most appropriate in terms of usability
and economics. Although the unit price is relatively higher than other types of asphalt
concrete pavement. However, compared with the engineering properties and usability
deemed most worthy. The reason for the selection of the type of asphalt concrete
pavement, In addition to the engineering reasons, applications and features of
economics, also take into account other factors, such as the response to the
government policy, the community needs, energy-saving and environmentally friendly
as well.