Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางกลับคืนสู่สังคมของ ผกร. ที่ยุติการต่อสู้ด้วยความรุนแรงอย่างยั่งยืง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สรโกเศศ เปี่ยมญาติ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางกลับคืนสูสังคมของกลุมผูกอเหตุรุนแรงที่ยุติการตอสูดวยความรุนแรง อยางยั่งยืน ลักษณะวิชา การทหาร ผูวิจัย พลตรี สรโกเศศ เปยมญาติ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57 งานวิจัยเรื่องแนวทางกลับคืนสูสังคมของกลุมผูกอเหตุรุนแรงที่ยุติการตอสูดวยความ รุนแรงอยางยั่งยืน มีวัตถุประสงคของการวิจัย ๒ ประการคือ ๑) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบแนวทาง ดําเนินการในขั้นตอนการกลับคืนสูสังคมของกลุมผูกอเหตุรุนแรงที่ยุติการตอสูดวยความรุนแรงใน พื้นที่ขัดแยง ตามหลักเกณฑการบูรณาการการปลดอาวุธ การเลิกเคลื่อนไหวตอสู และการกลับคืนสู สังคม (Integrated Disarmament, Demobilization and Reintegration Standards – IDDRS) ขององคการสหประชาชาติกับกรณีศึกษาโครงการ “พาคนกลับบาน” ในจังหวัดชายแดนภาคใตของ กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ สวนหนา และ ๒) เพื่อเสนอแนะแนวทางดําเนินการให กลุมผูกอเหตุรุนแรงที่ยุติการตอสูดวยความรุนแรงกลับคืนสูสังคมและสามารถดําเนินชีวิตอยูในสังคม ไดอยางมีเกียรติ มีอาชีพ และปลอดจากภัยคุกคาม เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาเอกสารและการ สัมภาษณเชิงลึกกลุมตัวอยางที่เกี่ยวของกับโครงการ “พาคนกลับบาน” ไดแก ๑) สมาชิกกลุมผูกอ เหตุรุนแรงที่เขารวมโครงการ “พาคนกลับบาน” และ ๒) เจาหนาที่รัฐที่รับผิดชอบโครงการ “พาคน กลับบาน” จากนั้นจะนําขอมูลทั้งหมดมาวิเคราะหและเรียบเรียงนําเสนอเปนผลการศึกษา โดยอาศัย ความรูและประสบการณที่เกี่ยวของกับปญหาจังหวัดชายแดนภาคใตผลการศึกษาพบวา แนวทาง ดําเนินการพาคนกลับบานของ กอ.รมน.ภาค ๔ สน. เปนขั้นตอนการกลับคืนสูสังคมที่ UN ใชในพื้นที่ ขัดแยงทั่วโลก แตมีความตางจากแนวทางขององคการสหประชาชาติ ซึ่งสงผลตอประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการดําเนินโครงการพาคนกลับบาน ดังนี้๑) โครงการกลับคืนสูสังคมขององคการ สหประชาชาติ เปนมาตรการในขั้นหลังความขัดแยง และมีขอตกลงสันติภาพแลว การทํางานจึงไดผล เพราะการตอสูยุติลงแตในจังหวัดชายแดนภาคใตดําเนินโครงการขณะยังมีการสูรบระหวางกัน ๒) โครงการกลับคืนสูสังคมขององคการสหประชาชาติเปนโครงการตอเนื่องที่เรียกวา การบูรณาการการ ปลดอาวุธ การเลิกเคลื่อนไหวตอสู และการกลับคืนสูสังคม ซึ่งการดําเนินการแบบนี้จะครบวงจรที่ สําคัญคือมีการวางอาวุธและออกจากกลุมตอสู ซึ่งตางจากในจังหวัดชายแดนภาคใตที่ออกมาแตตัว และไมมีหลักประกันวาเลิกตอสูกับรัฐแลวหรือไม ๓) โครงการกลับคืนสูสังคมขององคการ สหประชาชาติ มีมาตรฐานในการดําเนินโครงการอยางเปนขั้นตอนและเปนระบบโดยดําเนินการข ครอบคลุมทั้งมิติการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมจึงสงผลใหกลุมติดอาวุธที่เขารวมโครงการอยูกลับมา อยูในสังคมชุมชนไดจริง ขอเสนอแนะเชิงนโยบายคือ กําหนดโครงการพาคนกลับบานเปนนโยบาย หลักและดําเนินการโดยพัฒนาจากกรอบแนวคิดมาตรฐานโครงการกลับคืนสูสังคมขององคการ สหประชาชาติ

abstract:

Abstract Title Sustanable reintegration of ex-insurgents in the Deep South Thailand Field Military Name Maj.Gen.Sorrakosait Piemyart Course NDC Class 57 This research of sustainable reintegration of ex-insurgents in the Deep South Thailand after cutting loose from insurgency structure and violence was determined to 1) study and compare reintegration processes in conflict area between UN’s Integrated Disarmament, Demobilization and Reintegration Standards (IDDRS) and the “Taking People Home” project by the Internal Security Operations Command (ISOC) 2) recommend on appropriate method and process to encourage ex-insurgents to help end the Deep South violence and to support ex-insurgents to return to normal lives and employment/income in societies with honor and being safe from any threats. This qualitative research samples consisted of documentaries and in- depth interview on target groups involving in the “Taking People Home” project which were 1) ex-insurgents joining the project and 2) security officers being in charge of the project. Then all data and information would be analyzed and studied based on academic knowledge and practical experiences on Deep South insurgency before processing as a final research. The result of the research were 1. UN’s reintegration programme was used as a final process of post- conflict when the violence definitely ended and there was a peace dialogue then it was successful, but the “Taking People Home” project was run while the conflict still occurred in Deep South. 2. UN’s reintegration programme was a following process of Integrated Disarmament, Demobilization and Reintegration Standards (IDDRS). This process would be completely operated when the ex-combatants ended fighting and cut loose from organization. This was different from the “Taking People Home” project in the Deep South which some ex-insurgents attending in this programme still did not ensure peace and demobilization. 3. UN’s reintegration programme was standardized as it presented systematic step-by-step transitional process to political, economic and social aspects.๒ Then it could help ex-combatants joining programme to re-inter previous societies and communities with success. 4. The recommendations for Thai policy making level (government) was that relevant authorities should define “Taking People Home” project as a state policy and management by developing its pattern/process by using UN’s Integrated Disarmament, Demobilization and Reintegration Standards (IDDRS).