Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการเพื่อป้องกันการคอร์รัปชั่นของข้าราชการประจำ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี สมหมาย วงษ์จันทร์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการเพื่อปองกันการคอรรัปชั่นของขาราชการประจํา ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย พลเรือตรีสมหมาย วงษจ ันทร หลักสูตร วปอ. รนุ ที่ ๕๗ การศึกษาเรื่อง “แนวทางการบริหารจัดการเพื่อปองกันการคอรรัปชั่นของขาราชการ ประจํา” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา สาเหตุ องคประกอบการคอรรัปชั่นของขาราชการประจํา และเพื่อหาแนวทางการบริหารจัดการเพื่อปองกันการคอรรัปชั่นของขาราชการประจํา โดยมีขอบเขต ของการวิจัยศึกษาเฉพาะกรณขีาราชการประจําเทานั้น ไมรวมนักการเมือง นักธุรกิจ และภาคเอกชน ตาง ๆ ในการวิจัยครั้งนี้ใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพวิเคราะหขอมูลในเชิงเหตุผลอาศัยทฤษฎี สนับสนุน ศึกษางานวิจัยที่มีผูเคยดําเนินการไวแลว รวมถึงศึกษา บทความ หนังสือ เอกสาร ของบุคคล และหนวยงานตาง ๆ รวมทั้งสัมภาษณเชิงลึกผูทรงคุณวุฒิ ในการปองกันและปราบปราม การคอรรัปชั่น ผลของการศึกษาวิจัย พบวาการบริหารงานระบบราชการภายใตแนวคิดการบริหาร ตามหลักการธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE) ที่ใชในปจจุบันเพียงอยางเดียวยังไมไดผล และไมสอดคลองกับสภาพสังคมไทย สําหรับสาเหตุและองคประกอบการคอรรัปชั่นของขาราชการ ประจํา เกิดจากสาเหตุในตัวขาราชการ สภาพแวดลอมขาราชการ ปจจัยพื้นฐานระบบอุปถัมภและ พรรคพวกรวมถึงระบบราชการที่มีปญหาเชิงโครงสราง ปญหาวัฒนธรรมราชการ วิธีคิดแบบราชการ พื้นฐานโครงสรางราชการไทยที่ผิดพลาดตั้งแตในอดีต มีการใชอํานาจในตําแหนงแสวงหา ผลประโยชน และนําผลประโยชนไปแสวงหาตําแหนงที่สูงขึ้นและใชอํานาจในตําแหนงที่สูงขึ้นไป แสวงหาผลประโยชนตอไปอีก ขอสรุป เสนอใหนําแนวทางการบริหารภายใตกระบวนทัศนวิถีพุทธ และหลักธรรมภิบาล มาใชในการบริหารจัดการควบคูกับการใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ แกไขปญหาทั้งตัวระบบ และคนไปพรอมกัน ขณะเดียวกันปจจัยภายนอกที่เปนสิ่งเราใหเกิดการ คอรรัปชั่นตองปรับเปลี่ยนใหเปนสิ่งเราที่ตอตานการคอรรัปชั่น สําหรับการศึกษาในครั้งนี้เนื่องจากผูศกึษามีระยะเวลาในการศึกษาจํากัดมาก ประกอบ กับแนวทางการศึกษาที่ไดทําการศึกษาในครั้งนี้มีผูศึกษาไวนอย จึงมีขอมูลใหสืบคนไมมากนักขอ คนพบที่ไดจึงเปนขอคนพบในภาพกวาง ๆ ทั่วไป ที่สามารถนําไปใชในการศึกษาในเชิงลึกตอไปได

abstract:

Abstract Title : Management Practices for Bureaucratic Corruption Prevention Field : Politics Researcher : Rear Admiral Sommai Wongchan Course : National Defence College, 57 The objective of this research is to find out what the problems, causes, and other factors of corruption are and also to seek for methods to prevent corruption. The research is within the scope only of the government officials, not including politicians, businesspeople and other private sectors. This research is conducted by qualitative methods with rational analysis supported by theories together with the studies of previous researches, articles, books, documents of individuals and organisations, including exclusive in-depth interviews of the specialists in preventing and suppressing corruptions. The result of this research shows that only bureaucratic administration under the currently-used concepts of good governance is not effective and consistent with Thai society and ways of life. The causes and factors of government officials’ corruption are from the officials themselves, environments, patronage and partisan systems, bureaucratic structure as well as culture and perspective. Thai bureaucracy, which has been distorted so far, has given officials an opportunity to exploit their authorities to gain advantages and use advantages for higher positions and continue endlessly with further exploitation. The conclusion offers government administration under the combination of Buddhism approaches, good governance concepts, and the philosophy of sufficiency economy to fix both the system and people’s perspectives at the same time. Meanwhile, external corrupt catalysts need to be changed into the ones against corruptions. Because very few studies of the case were previously done, there is not much data to search from. And in addition to time limit, the research result is a bit broad but hopefully can be useful for further more detailed studies.