เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการเพื่อป้องกันการคอร์รัปชั่นของข้าราชการประจำ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี สมหมาย วงษ์จันทร์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการเพื่อปองกันการคอรรัปชั่นของขาราชการประจํา
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย พลเรือตรีสมหมาย วงษจ ันทร หลักสูตร วปอ. รนุ ที่ ๕๗
การศึกษาเรื่อง “แนวทางการบริหารจัดการเพื่อปองกันการคอรรัปชั่นของขาราชการ
ประจํา” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา สาเหตุ องคประกอบการคอรรัปชั่นของขาราชการประจํา
และเพื่อหาแนวทางการบริหารจัดการเพื่อปองกันการคอรรัปชั่นของขาราชการประจํา โดยมีขอบเขต
ของการวิจัยศึกษาเฉพาะกรณขีาราชการประจําเทานั้น ไมรวมนักการเมือง นักธุรกิจ และภาคเอกชน
ตาง ๆ
ในการวิจัยครั้งนี้ใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพวิเคราะหขอมูลในเชิงเหตุผลอาศัยทฤษฎี
สนับสนุน ศึกษางานวิจัยที่มีผูเคยดําเนินการไวแลว รวมถึงศึกษา บทความ หนังสือ เอกสาร
ของบุคคล และหนวยงานตาง ๆ รวมทั้งสัมภาษณเชิงลึกผูทรงคุณวุฒิ ในการปองกันและปราบปราม
การคอรรัปชั่น
ผลของการศึกษาวิจัย พบวาการบริหารงานระบบราชการภายใตแนวคิดการบริหาร
ตามหลักการธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE) ที่ใชในปจจุบันเพียงอยางเดียวยังไมไดผล
และไมสอดคลองกับสภาพสังคมไทย สําหรับสาเหตุและองคประกอบการคอรรัปชั่นของขาราชการ
ประจํา เกิดจากสาเหตุในตัวขาราชการ สภาพแวดลอมขาราชการ ปจจัยพื้นฐานระบบอุปถัมภและ
พรรคพวกรวมถึงระบบราชการที่มีปญหาเชิงโครงสราง ปญหาวัฒนธรรมราชการ วิธีคิดแบบราชการ
พื้นฐานโครงสรางราชการไทยที่ผิดพลาดตั้งแตในอดีต มีการใชอํานาจในตําแหนงแสวงหา
ผลประโยชน และนําผลประโยชนไปแสวงหาตําแหนงที่สูงขึ้นและใชอํานาจในตําแหนงที่สูงขึ้นไป
แสวงหาผลประโยชนตอไปอีก ขอสรุป เสนอใหนําแนวทางการบริหารภายใตกระบวนทัศนวิถีพุทธ
และหลักธรรมภิบาล มาใชในการบริหารจัดการควบคูกับการใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ
แกไขปญหาทั้งตัวระบบ และคนไปพรอมกัน ขณะเดียวกันปจจัยภายนอกที่เปนสิ่งเราใหเกิดการ
คอรรัปชั่นตองปรับเปลี่ยนใหเปนสิ่งเราที่ตอตานการคอรรัปชั่น
สําหรับการศึกษาในครั้งนี้เนื่องจากผูศกึษามีระยะเวลาในการศึกษาจํากัดมาก ประกอบ
กับแนวทางการศึกษาที่ไดทําการศึกษาในครั้งนี้มีผูศึกษาไวนอย จึงมีขอมูลใหสืบคนไมมากนักขอ
คนพบที่ไดจึงเปนขอคนพบในภาพกวาง ๆ ทั่วไป ที่สามารถนําไปใชในการศึกษาในเชิงลึกตอไปได
abstract:
Abstract
Title : Management Practices for Bureaucratic Corruption Prevention
Field : Politics
Researcher : Rear Admiral Sommai Wongchan
Course : National Defence College, 57
The objective of this research is to find out what the problems, causes, and
other factors of corruption are and also to seek for methods to prevent corruption. The
research is within the scope only of the government officials, not including politicians,
businesspeople and other private sectors.
This research is conducted by qualitative methods with rational analysis
supported by theories together with the studies of previous researches, articles, books,
documents of individuals and organisations, including exclusive in-depth interviews of the
specialists in preventing and suppressing corruptions.
The result of this research shows that only bureaucratic administration under
the currently-used concepts of good governance is not effective and consistent with Thai
society and ways of life. The causes and factors of government officials’ corruption are
from the officials themselves, environments, patronage and partisan systems,
bureaucratic structure as well as culture and perspective. Thai bureaucracy, which has
been distorted so far, has given officials an opportunity to exploit their authorities to gain
advantages and use advantages for higher positions and continue endlessly with further
exploitation.
The conclusion offers government administration under the combination of
Buddhism approaches, good governance concepts, and the philosophy of sufficiency economy to fix both the system and people’s perspectives at the same time. Meanwhile,
external corrupt catalysts need to be changed into the ones against corruptions.
Because very few studies of the case were previously done, there is not much
data to search from. And in addition to time limit, the research result is a bit broad but
hopefully can be useful for further more detailed studies.