เรื่อง: ผลกระทบจากนโยบายรับจำนำข้าวกับเกษตรกรผู้ปลูกข้าว
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมชาย เอื้ออารีรัชต์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง ผลกระทบจากนโยบายรับจํานําข้าวกับเกษตรกรผ้ปลู ูกข้าว
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย สมชาย เอื&ออารีรัชต์ หลักส ู ูตร วปอ. ร่นที ,- ุ
โครงการรับจํานําข้าวเป็ นนโยบายของรัฐบาลทีมุ่งประโยชน์ให้กับเกษตรกรผู้
เพาะปลูกข้าว โดยใช้วิธีการแทรกแซงราคาเพือรับจํานําผลผลิตจากเกษตรกร นโยบายดังกล่าว
ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรเป็ นวงกว้าง การศึกษาผลกระทบจากนโยบายรับจํานําข้าวกบเกษตรกรผู้ ั
ปลูกข้าวในครั0งนี0มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพือศึกษาผลกระทบทีเกิดขึ0นกบเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ั
ศึกษาผลดี ผลเสียของนโยบายรับจํานําข้าว รวมทั0งหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาทีเกิดขึ0นกับ
เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ซึ งการศึกษาครั0งนี0มุ่งเน้นผลกระทบจากนโยบายรับจํานําข้าวทีเกิดขึ0นกับ
เกษตรกรผู้ปลูกข้าวภายในระยะเวลาไม่เกิน 10 ปี ในส่วนของแนวทางการแกไขปัญหานั ้ 0นจะเป็ น
เพียงการเสนอแนวคิดหลักกว้าง ๆ เท่านั0น โดยมีวิธีดําเนินการวิจัยในลักษณะของนโยบายรับจํานํา
ข้าวและผลดีผลเสียจากกลุ่มตัวอยางเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าว โดยวิธีการสัมภาษณ์ ซึงผลก ่ ารวิจัย
พบวา เกษตรกรผู้เข้าร ่ ่วมโครงการมีรายได้ทีเพิมขึ0นจากส่วนต่างของราคารับจํานําข้าวทีรัฐบาลได้
กาหนดขึ ํ 0น ในทางกลับกนรัฐบาลต้องใช้งบประมาณในการอุดหนุนนโยบายโครงการรับจ ั ํานําข้าว
เป็ นจํานวนมาก อีกทั0งเป็ นการทําลายการแข่งขันในตลาดข้าวเพราะเป็ นการกาหนดราคาซื ํ 0อขายใน
ตลาด ซีงจากการวิจัยเห็นควรวา เกษตรกรควรควบคุมคุณภาพข้าวให้ได้ผลผลิตทีมีมาตรฐาน ่ เพือ
เป็ นทีต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศ และรัฐบาลควรมีนโยบายในการจัดเขตพื0นที
เพาะปลูก เพือเป็ นการสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกข้าวได้อยางมีคุณภาพ อีกทั ่ 0งรัฐบาลควรตั0งราคา
รับจํานําข้าวไม่สู งมากเกินไปเมือเทียบกับราคาตลาด เพือให้นโยบายการรับจํานําข้าวเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด
abstract:
ABSTRACT
Title Impact from Rice Subsidy Scheme with the farmer
Field Economics
Name Somchai Auer-Areerat Course NDC Class 57
Rice Subsidy Program was the government’s policy which focused mainly to rice
farmer, by price intervention for pledging the agricultural output and such policy has widely
impacted to the farmer. The objective of studying the impact of Rice-Pledging policy is to study
the impact to the rice farmer, studying the advantage and disadvantage of Rice-Pledging policy,
including seeking for remedy to the rice farmer. This studying targets to the impact of RicePledging policy to the farmer within not more than 10 years whilst the remedy will only be
broadly proposal. The research will be conducted on the characteristics, advantages and
disadvantages of Rice-Pledging policy by interviewing the sample groups of rice farmers. And
the result found that the farmers who joined the scheme has more income from the difference of
government’s pledging price, on other hand, government had to use vast amount of budget on
running the rice scheme and also jeopardized the competition in the rice market from the price
nominated in the market. From the research agrees that the farmer should control the standard of
the rice quality to comply with the demand of domestic and overseas, and government should
implement the policy in zoning agricultural area to support the farmers in planting good quality
rice. Meanwhile, the government should have set up the pledging price not too high comparing to
the market price in order to create maximum efficiency of the rice scheme.