เรื่อง: ความเสมอภาคในการบังคับใช้กฎหมายกับความมั่นงคงของประทศ: กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสหรัฐอเมริกา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมเกียรติ คุววัฒนานนท์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง ความเสมอภาคในการบังคับใช
้
กฎหมายกับความมÉนคงของประเทศ ั :
กรณีศึกษาเปรียบเทียบกบั ประเทศสหรัฐอเมริกา
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผวู้ิจยั นายสมเกียรติคุววฒั นานนท
์
หลกัสูตรวปอ.รุ่นทีÉŝş
วตัถุประสงคข์องการวิจยัเรืÉองนีÊเพืÉอศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาความไม่เสมอภาคใน
การบงัคบัใชก้ ฎหมายความสัมพนัธ์กบัความมนคงของประเทศ และเพื Éั Éอเสนอแนะแนวทางในการ
ปรับปรุงการปฏิบตัิของหน่วยงานบงัคบัใชก้ ฎหมาย ปรับปรุงกฎ ระเบียบของหน่วยงาน การวิจยั
ครัÊงนีÊเป็นการวิจยัเชิงคุณภาพ ดาํ เนินการวิจยัด้วยเอกสารและศึกษาตวัอย่างแนวคิดทีÉเกิดขÊึนจริง
ศึกษาวิเคราะห์แนวทฤษฎีจิตวิทยาทัÊงของนักคิดต่าง ๆ รวมทÊงังานวิจยัทางจิตวิทยา และทาง
การแพทยเ์กีÉยวกบัการไดร้ับการปฏิบตัิทีÉไม่เท่าเทียมกนัของมนุษย์กฎหมายและตวัอยา่ งคดีทÊงของ ั
ประเทศไทยและของประเทศสหรัฐอเมริกา
สรุปไดว้่าแนวคิดทางดา้นจิตวิทยามนุษยน์ Êนั หากมนุษยไ์ ม่ไดร้ับความยุติธรรมหรือ
ไดร้ับการปฏิบตัิทีÉไม่เสมอภาคกนั มนุษยจ์ะเกิดอารมณ์เครียด หรือโกรธ หากควบคุมไม่ได้มนุษย์
ก็จะมีพฤติกรรมแสดงออกทÊงัด้านส่วนตวัระหว่างบุคคลและกลุ่มได้เช่น ลอบทาํร้าย จลาจล หรือ
การต่อสู้เพืÉอแบ่งแยกในทÉีสุด ทางดา้นนิติปรัชญาแนวคิดเรืÉองหลกัแห่งความเสมอภาคตÊงัอยู่บน
พืÊนฐานทีÉว่า โดยธรรมชาติแล้วมนุษยท์ ุกคนเกิดมาและดาํรงอยู่อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกนั และ
จะตอ้งเคารพสิทธิและเสรีภาพของกนั และกนั สิÉงเหล่านÊีติดตวัมาแต่กาํ เนิด และถึงแมจ้ะไม่มี
กฎหมายบญั ญตัิรับรองไวเ้ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ก็ยงัคงมีผลบงัคบั ใช้ได้ เพราะเป็ นสิÉงทีÉรัฐและ
สามญั ชนทุกคนมิอาจปฏิเสธได ้จะเห็นไดว้า่ เป็นการแปรสิทธิตามธรรมชาติของบุคคลมาเป็นสิทธิ
ของบุคคลทีÉไดร้ับการรับรองโดยกฎหมาย ขอ้เสนอแนะการวิจยัในครÊังนีÊ ř.กระตุน้ เตือน สร้าง
จิตสํานึกให้ผู้บังคับใช้กฎหมายยึดมัÉนและปฏิบัติโดยเสมอภาคในการบังคับใช้กฎหมาย
Ś. ประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรม ความเสมอภาคในการดาํ เนินคดีขÊึนอยู่กบัความรวดเร็ว
หรือความล่าชา้ในการดาํ เนินคดีś. ให้ความรู้ถึงผลกระทบของความไม่เสมอภาคในการบงัคบั ใช้
กฎหมายแก่บุคคลในองค์กร รัฐบาลองค์กรผูบ้ งัคบั ใช้กฎหมาย Ŝ. จะตอ้งยึดมนÉัและปฏิบตัิอย่าง
เคร่งครัดในการบงัคบั ใช้กฎหมายอยา่ งเสมอภาค ŝ.ควรมีคาํวา่ “เสมอภาค” เพิÉมเติมในบทบญั ญตัิ
ทีÉว่าดว้ยการบงัคบั ใช้กฎหมาย Ş.ฝ่ายนิติบญั ญตัิจะตอ้งให้ความสําคญั ในเรืÉองความเสมอภาคใน
การบงัคบั ใช้กฎหมาย ş. ผูน้ าํจะตอ้งเป็นแบบอย่างทีÉดีแก่คนในชาติและเยาวชน เพืÉอให้เห็นถึง
ความเสมอภาคในการบงัคบัใชก้ ฎหมาย
abstract:
Abstract
Title The Equality of Law Enforcement and National Security: Comparative Case Study
between Thailand and the United State of America
Field Politics
Name Mr. Somkiet Kuwawattananont Course NDC Class 57
This research aims at studying and analyzing the relationship between the inequality
of law enforcement and national security. It also indicates guidelines to improve the performance of
law enforcement agencies as well as rules and regulations amendment. Various related documents,
concepts and theories including Psychological and Medical researches regarding discrimination as
well as Thailand and American’s laws and cases are studied and analyzed in this Qualitative Research.
According to Human Psychology concept, humans will be stressed and angry when
they face discrimination or unfair treatment. If they cannot control their feeling and emotion, they will
perform various negative behaviors including ambush, riot, or fighting. Regarding Legal Philosophy,
the equality concept shows that all human beings are born and make their own livelihood equally
and equitably. They also have to respect other rights and liberty. Although there is no law on this
issue, it is enacted and cannot be ignored in the society. It could be said that natural right is changed to
be legal right. Besides, there are seven different suggestions from the study: 1) law enforcement
officers’ awareness on the equality of law implementation must be raised and encouraged; 2) the
efficiency of justice and the equality of prosecution are related to the quickness of prosecution; 3)
Knowledge about the impact of law enforcement inequality must be provided to government officers
and law enforcement practitioners; 4) law must be enforced equally and seriously; 5) the word
“equality” must be addressed in the law enforcement provision; 6) legislators must give precedence to
the equality of law enforcement; and 7) leaders must be good role models revealing the equality of law
enforcement for people, especially for youths.