เรื่อง: แนวทางการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว ศิลักษณ์ ปั้นน่วม
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการจัดสรรงบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัด
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู&วิจัย นางสาวศิลักษณ' ป()นนวม หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
การจัดสรรงบประมาณเพื่อตอบสนองความตองการในพื้นที่ยังไมสอดคลองและ
ตอบสนองตอความตองการตามแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจําป)ของจังหวัด
โดยจากการศึกษาพบวาตั้งแตพระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบ
บูรณาการ พ.ศ. 2551 มีผลใชบังคับ การจัดสรรงบประมาณใหกับสวนราชการตามแผนพัฒนาจังหวัด
และแผนปฏิบัติราชการประจําป)จังหวัดต่ํากวาความตองการมาก เชน ในป)งบประมาณ พ.ศ. 2552 –
2556 ไมไดรับการจัดสรร ป)งบประมาณ พ.ศ. 2557 ไดรับจัดสรรรอยละ 3.59 และป)งบประมาณ
พ.ศ. 2558 ไดรับจัดสรรรอยละ5.19 ดังนั้นการศึกษาวิจัยถึงป>ญหาอุปสรรครวมทั้งหาแนวทางการ
แกไขที่เหมาะสม จะเป@นประโยชนAตอการพัฒนาเชิงพื้นที่และดําเนินการตามนโยบายรัฐบาล ซึ่งสงผล
โดยรวมตอการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาของประเทศ
จากการสัมภาษณAผูมีสวนเกี่ยวของกับการจัดสรรงบประมาณจังหวัดทั้งสวนราชการ
เจาของโครงการ และทีมบูรณาการกลางสามารถสรุปประเด็นป>ญหาได 3 ประเด็น คือ ขั้นตอนและ
คุณภาพของแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจําป)ของจังหวัด ขั้นตอนการจัดสรร
งบประมาณใหสวนราชการ และการบูรณาการการทํางานของกลไกที่รับผิดชอบ ไดแก ทีมบูรณาการ
กลางโดยผูวิจัยไดใชแนวความคิด Input – Output Model แนวคิดของการบริหารงานแบบบูรณา
การ และแนวคิด MIS/HRD มาวิเคราะหAสภาพป>ญหา และเสนอแนวทางแกไข ประกอบดวย การ
จัดทําคูมือและสรางเครื่องมือการวิเคราะหAการจัดทําแผน จัดทําฐานขอมูล สรางบรรยากาศในการ
ทํางาน จัดตั้งกลไกที่เอื้อตอการบูรณาการงบประมาณเชิงพื้นที่ จัดทํารูปแบบเอกสารและระบบจัดสง
ที่รวดเร็ว กําหนดหลักเกณฑAการจัดสรรงบประมาณโดยยึดหลัดความสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล
และยุทธศาสตรAในทุกระดับ และกําหนดมาตรการที่เครงครัดในการสนับสนุนโครงการตามความ
ตองการของพื้นที่
abstract:
ABSTRACT
Title The Budget Allocation Guidelines for Provincial Development Plan
Field Economics
Name Ms Siluck Punnoum Course NDC Class 57
The Budget allocation has not fulfilled the local area needs purposed as
integrated projects in provincial development as well as provincial annual action
plan. As a result, Office of the Public Sector Development Commission together with
the National Economic and Social Development Plan Office, Ministry of Interior and
the Budget Bureau Office , known as Central Integrated working team, have been
trying to examine and modify some guidelines for more efficient allocation.
Particularly, the B.O.B. has informally divided its structure into 18 local area of
Budgeting Offices.
The interviews show some obstacles occurred on 3 steps of
implementation which are 1) procedures and quality of provincial development plan
and provincial annual action plan 2) procedures of budget allocation to government
agencies and 3) integration of the working team. Input – Output Model, Integration
Thinking and MIS/HRD are main methodologies in this research. The findings give
substantial guidelines: providing the standard handbooks and efficient tools for
analyzing provincial development plan, establishing data system, building
a mechanism for area integrated budgeting support, making documentary form and
good delivery system, stipulated the budget allocation regulation in accordance with
government policy and all level strategies and strictly determining measures to
support local area projects.