Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวความคิดด้านการบริหารจัดการความรู้ของกองพลทหารม้าที่ 2 รักษาพระองค์มุ่งสู่วิสัยทัศน์กองทัพบก พ.ศ.2565

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ศักดา เนียมคำ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง แนวความคิดด้านการบริหารจัดการความรู้ ของกองพลทหารม้าที รักษาพระองค์ มุ่งสู่วิสัยทัศน์กองทัพบก พ.ศ. ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พันเอก ศักดา เนียมคํา หลักสูตร วปอ. รุ่นที57 การศึกษาวิจัยครังนี มีวัตถุประสงค์เพือเสนอแนวทาง และขันตอนการปฏิบัติในการ พัฒนากองพลทหารม้าที รักษาพระองค์ให้เป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของกองทัพบก ในด้านการ เตรียมกําลังและใช้กําลังในการปฏิบัติภารกิจป้ องกันประเทศ เพือมุ่งสู่วิสัยทัศน์กองทัพบก พ.ศ. ตลอดจนแนวทางการประเมินผลการบริหารจัดการความรู้ของหน่วยให้มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้น ศึกษาเฉพาะการบริหารจัดการความรู้ในส่วนของภารกิจการป้ องกันประเทศทีหน่วยกองพลทหารม้าที รักษาพระองค์ได้รับมอบจากกองทัพบกเท่านัน ผู้วิจัยดําเนินการวิจัยในเชิงปริมาณ ซึงประชากรทีใช้ ในการศึกษาเป็ นกําลังพลของหน่วยในกองพลทหารม้าที รักษาพระองค์ ในหลายกลุ่มงานตังแต่ นายทหารสัญญาบัตรทีปฏิบัติงานด้านนโยบายและแผน นายทหารสัญญาบัตรทีปฏิบัติงานด้าน ยุทธวิธี (ระดับผู้ปฏิบัติ) และนายทหารประทวนทีปฏิบัติหน้าทีครูทหาร (ผู้ถ่ายทอดความรู้) โดยใช้ สูตรการหาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง และสุ่มตามสัดส่วน และใช้แบบสอบถามทีผู้วิจัยจะสร้างขึนเอง เก็บรวบรวมข้อมูล จากนันวิเคราะห์ข้อมูล เพือหาค่าสถิติต่าง ๆ จากการศึกษา พบว่า หน่วยต่างๆ มี กําลังพลทีมีความรู้และได้มีการดําเนินการด้านการจัดการความรู้อยู่แล้วในหน่วย แต่ทุกหน่วยยังไม่มี การจัดตังส่วนงาน หรือผู้รับผิดชอบโดยตรง เป็ นเพียงการนําไปรวมอยู่ในงานการเตรียมกําลังปกติซึง กําลังพลถึงร้อยละ 85.9 มีความรู้เกียวกับการจัดการความรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับดีในบทสุดท้ายได้ มีการเสนอแนะให้มีการกําหนดให้การจัดการความรู้เป็ นหนึงในนโยบายของหน่วย โดยต้องกําหนด เป้ าหมาย และกรอบเวลาทีชัดเจน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลอย่างเป็ นรูปธรรมและจริงจัง โดย อาจกําหนดให้เป็ นตัวชีวัดหลักของการประเมินประสิทธิภาพของหน่วย ซึงจะต้องอบรมความรู้ความ เข้าใจให้ผู้บริหารหน่วยให้เห็นความสําคัญ และนําไปปฏิบัติได้อย่างจริงจัง ตลอดจนกําหนดส่วนงาน รับผิดชอบการจัดการความรู้โดยตรง และสร้างเสริมให้สามารถปฏิบัติเป็ นพีเลียงให้กับหน่วยรอง ทังนีควรมีการวิจัยเป็ นระยะๆ เพือทําการประเมินว่า กําลังพลมีการรับรู้มากขึนหรือไม่ อย่างไร รวมถึงการเห็นความสําคัญและนําความรู้ทีได้ไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน

abstract:

Abstract Title 2 nd Cavalry Division's Knowledge Management Concept to Support Royal Thai Army's Vision 2012 Field Military Name COL Sakda Niemkham Course NDC Class 57 The aims of the study are to propose a guideline and steps in bringing 2nd Cavalry Division to become one of the Royal Thai Army’s learning organizations. The focus is on the distribution and preparation of forces to defend the country and to support the Army’s vision 2022; and to propose an effective method to evaluate the organization’s knowledge management system in terms of defense missions assigned to 2nd Cavalry Division. Quantitative approaches were used to collect the data from 2 nd Cavalry Division’s personnel, including senior commissioned officers (policy planners), junior commissioned officers (operators), and drill sergeants. The researcher designed a questionnaire to gather information and used statistical techniques to analyze the collected data. The researcher found that 85.9 percent of the personnel in the surveyed four units of 2 nd Cavalry Division have knowledge of and recognize the importance of knowledge management. However, there is no section or staff appointed to develop KM system. The researcher proposed putting knowledge management into practice by setting a clear objective, time frame, and realistic assessment strategies. Also, knowledge management should be one of the key factors to evaluate the efficiency of each unit. Training and seminars should be organized so that the units’ commanding officers realize the benefits of KM and make it practical. A unit directly responsible for the KM development should be set up and act as a guidance unit. Furthermore, follow-up surveys and studies must be regularly done to evaluate the personnel’s participation and understanding of the importance of KM to their work.