Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การปรับปรุงคุณภาพดินกรด เพื่อการเพิ่มผลผลิตเกษตรอย่างยั่งยืน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ศศิศ มนต์เสรีนุสรณ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง การปรับปรุงคุณภาพดินกรด เพื อการเพิ มผลผลิตเกษตรอย่างยั งยืน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย นายศศิศ มนต์เสรีน ู ุสรณ์ หลักสูตร วปอ. ร่นที *+ ุ การศึกษาเรื อง การปรับปรุงคุณภาพดินกรด เพื อการเพิ มผลผลิตเกษตรอย่างยังยืน เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื อศึกษาข้อมูลพื:นฐานเก ี ยวกบั คุณภาพดินภายในประเทศไทยรวมทั:งคุณลักษณะของสภาพดินที เหมาะสมสําหรับการเกษตรกรรม และผลกระทบของดินเปรี:ยว ดินกรด ที มีต่อผลผลิตทางการเกษตรทั:งในแง่ของประสิทธิภาพ การผลิตและต้นทุนการผลิต และศึกษาความสําคัญของการปรับปรุงคุณภาพดินกรดเพื อหาแนวทาง การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพดินกรดในการเพิ มผลผลิตอย่างยังยืนของประเทศไทย ซึ งการศึกษาครั :งนี: ผู้ทําการวิจัยมุ่งศึกษาพื:นที เพาะปลูกพืชที มีดินเป็ นกรดตั:งแต่ค่า pH ตํ ากว่า 5.5 ลงมา ในเขตพื:นที เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจของหวัดลพบุรี ร่วมกับโครงการลพบุรี โมเดล และพื:นที เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจที ดินมีความเป็ นกรดทํานองเดียวกนในพื ั :นที จังหวัดข้างเคียง จากการศึกษาพบว่า การน้อมนําองค์ความรู้ด้านการแก้ดินเปรี:ยว ดินกรดตามแนว พระราชดําริฯประยุกต์กบเทคโนโลยีสมัยใหม ั ่ด้วยการนําเอาสารปรับปรุงดินกรดชนิดนํ:าเข้มข้น ที ผลิตจากแร่ธาตุธรรมชาติที มีความละเอียดเล็กมาก สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ในการปรับปรุง ดินเปรี:ยว ดินกรด ทั:งกรรมวิธีการใช้ร่วมกบระบบชลประทานหรือระบบการให้นํ ั :าพืช โดยให้ คํานิยามเทคนิคนี:ว่า “ Calcigation ” ได้ผลสําเร็จครั:งแรกในประเทศไทย และการใช้ร่วมกบั เครื องมือการฉีดพนสารเคมีต ่ ่างๆที เกษตรกรมีอยูแล้ว ทั ่ :งสองกรรมวิธีได้ให้ผลลัพธ์ในการปรับปรุง ค่าความเป็ นกรดของดิน ให้อยู่ในช่วงที มีความเหมาะสมแก่การเพาะปลูกพืชได้อย่างรวดเร็ว ภายในระยะเวลาเพียงสองถึงสามสัปดาห์และมีประสิทธิภาพสูง อีกทั:งการปรับปรุงดินกรดด้วย นวัตกรรมใหม่นี: ยังช่วยให้ผลผลิตพืชต่างๆเพิ มขึ:นจากเดิมเฉลี ยประมาณร้อยละ 20 ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ ผลที ได้จากการศึกษานี: นับว่าได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ซึ งจะเป็ นแนวทางในการ ศึกษาวิจัยพัฒนาด้านการบูรณาการจัดการดินเปรี:ยวดินกรดในพื:นที เกษตรกรรมของประเทศไทย และช่วยลดปัญหาภาวะผลผลิตพืชตกตํ า ซึ งเป็ นปัญหามาช้านานของเกษตรกร และอาจเป็ น แนวทางหนึ งช่วยลดภาระของภาครัฐในการสนับสนุนแก้ไขปัญหาในภาคเกษตรกรรมได้อย่าง ยังยืนต ่อไป

abstract:

ABSTRACT Title Acidic Soil Amendment for Sustainable Agricultural Productivity Improvement Field Economics Name Mr.Sasis Monsereenusorn Course NDC Class 57 The research project was to study about the soil acidity improvement to meet optimal soil fertility in order to increase productivity for sustainable agriculture which this study was a qualitative research approach, with the purpose to understand the basic information about the soil within Thailand, as well as soil conditions & properties suitable for agriculture. The research scope was to study about the effect of strong acidic soils has on agricultural productivity, its efficiency and production cost. Also, the research study was to implement new techniques for highly efficient amendment of strong acidic soils to increase productivity and sustainable agricultural practices in Thailand. The research study focused on key crops in Lopburi province where soil pH is below 5.5, by collaboration with Lopburi’s Agriculture Model Project and neighboring provinces where acidic soils are presence. The research study was successfully transferred the basic knowledge of King’s Bhumipol’s theory on soil management integrated a new innovation & technology by applying superfine liquid natural liming materials incorporated with micro-irrigation systems so-called “Calcigation” technique which this concept has been firstly invented in Thailand, and also incorporated with typical spraying machine or equipment that farmers commonly sprayed agrochemicals, to improving acidic soils upto optimal level efficiently with short period (2-3 weeks). Not only soil pH has been increased after treatments but also the result showed positively and significantly in yield increase about 20-30% as compared with untreated control. Consequently, the outcome has brought a new knowledge & innovation of acidic soil amendment which could develop the long-term integrated solutions to managing acidic soils in Thailand as well as improving Agri-commodities downfall issues and reducing government burden for supporting farmer’s price fall sustainably.