เรื่อง: แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อการบริโภค
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วุฒิไกร ลีวีระพันธุ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการพัฒนาและการส่งเสริมสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื
อการบริโภค
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย นายว ู ุฒิไกร ลีวีระพันธ์ หลักส ุ ูตร วปอ. ร่นที
๕๗ ุ
เศรษฐกิจประเทศไทยเป็ นเศรษฐกิจทีถูกขับเคลือนด้วยภาคการค้าระหว่างประเทศ
มาโดยตลอด ทีผานมา โครงสร้างเศรษฐก ่ ิจของประเทศไทยได้เปลียนจาก ภาคเกษตรกรรม มาเป็ น
ภาคอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตร ทีอิงกบการใช้แรงงานราคาถูกและการผลิตสินค้าที ั
ใช้เทคโนโลยีตํา ทําให้ภาคเกษตรกรรมถูกทอดทิ.ง แรงงานส่วนใหญ่จึงได้ย้ายจากภาคการเกษตร
มายังภาคอุตสาหกรรม
ปัจจุบัน แรงงานราคาถูกได้กลายเป็ นอดีตไปแล้ว ภาคเกษตรกรรมประสบกบปัญหา ั
การขาดแคลนเทคโนโลยีในการผลิตและการบริ หารจัดการ อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าทีใช้
เทคโนโลยีตําค่อยๆ ถูกท้าทายจากประเทศคู่แข่งรอบข้างทีมีค่าแรงถูกกวา ่
การพึงพาการค้าระหว่างประเทศมากเกินไป ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยได้รับผลกระทบ
อยางมากจากการเปลียนแปลงของเศรษฐก ่ ิจโลก ยามใดทีเศรษฐกิจโลกมีปัญหา เศรษฐกิจไทยจะ
ได้รับผลกระทบอย่างมากทุกครั.งไป ดังนั.น ประเทศไทยจึงจําเป็ นต้องมีการปรับโครงสร้าง
เศรษฐกิจใหม่ ให้พึ งพาเศรษฐกิจภายในประเทศ ทั.งการบริ โภคและการลงทุนให้มากขึ.น
นอกจากนี. จําเป็ นต้องมีการปรับเปลียนโครงสร้างการผลิตจากเดิมทีอิงแรงงานราคาถูก มาเป็ นการ
ผลิตทีใช้เทคโนโลยีสูงขึ.น และลดการพึงพิงเทคโนโลยีจากต่างประเทศลง
ทีสําคัญไปกวานั ่ .น ภาคการผลิตของไทยต้องปรับเปลียนไปสู่การผลิตสินค้าทีโลกมี
ความต้องการมากขึ.น และต้องตอบสนองให้ทันกบรสนิยมการบริโภคทีมีการเปลียนแปลงอย ั ่าง
รวดเร็ว เนืองจากผู้บริโภคมีรายได้เพิมมากขึ.น จึงมีความต้องการบริโภคสินค้าทีมีคุณภาพ มีความ
แปลกใหม่ ประกอบกบคั ่านิยมการบริโภคทีเปลียนแปลงไป โดยให้ความสําคัญกบมิติด้านสุขภาพ ั
สุขอนามัย และผลกระทบต่อสิงแวดล้อม (Health and Environment Conscious) รวมถึงการค้าที
เป็ นธรรม (Fair Trade) ซึงสะท้อนจากการทีหลายประเทศได้พยายามใช้มาตรการกีดกนทางการค้า ั
ทีไม่ใช้ภาษี (Non-tariff Barriers) ในรูปแบบต่างๆ เพิมขึ.น
การบรรลุวัตถุประสงค์ข้างต้น จําเป็ นต้องใช้ระยะเวลาและการผลักดันจากทุกภาคส่วน
ทั.งนโยบายของรัฐบาล ภาคราชการ และภาคเอกชน เพราะทีผานมา ภาคเกษตรของไทยตกอยู ่ ใน่
ภาวะทางการค้าทีเรียกวา “เหนือยมากได้น้อย” ฉะนั ่ .น แนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทย ข
ซึ งรวมถึงการส่งเสริ มและพัฒนาการเกษตรอินทรี ย์เพือการบริ โภค จะเป็ นกลไกหนึ งในการ
เปลียนแปลงให้เกษตรกรไทยไปสู่ภาวะการค้าทีเรียกวา “เหนือยน้อยได้มาก” ่
การพัฒนาการเกษตรอินทรี ย์ สามารถตอบโจทย์ความจําเป็ นข้างต้นได้ เนืองจาก
เหตุผลหลายประการ ประการแรก คือ ประเทศไทยมีคุณลักษณะทีโดดเด่นมากมายในการทํา
การเกษตร หากแต่สินค้าเกษตรของไทยยังคงมีลักษณะของการผลิตทีเน้นปริมาณมากกวาคุณภาพ ่
รวมถึงยังขาดระบบการบริหารจัดการสินค้าเกษตรทีมีประสิทธิภาพ
การผลิตสินค้าอินทรีย์จะเน้นคุณสมบัติทางด้านคุณภาพมากกว่าปริมาณ จึงช่วยลด
ปัญหาสินค้าล้นตลาด และการผลิตสินค้าอินทรีย์จะทําให้สินค้ามีมูลค่าเพิมขึ.น จึงเป็ นการพัฒนา
ภาคการเกษตรไทยอยางยั ่ งยืน
สินค้าเกษตรอินทรีย์ยังสอดคล้องกบคั ่านิยมใหม่ของผู้บริโภคในตลาดโลก ทีเน้นการ
บริ โภคสินค้าทีมีคุณภาพ ปลอดภัย และใส่ใจต่อสิงแวดล้อม ตลอดจนสามารถตอบสนองต่อ
มาตรการ กฎระเบียบ และมาตรฐานทางการค้าทีสูงขึ.นได้ และเป็ นการนําเอานวัตกรรมสีเขียว
(Green Innovation) มาสร้างมูลค่าเพิมและความแตกต่างให้กบสินค้า ดังนั ั .น สินค้าเกษตรอินทรีย์
จึงเป็ นทางเลือกหนึงในการสร้างโอกาสให้กบสินค้าเกษตรไทย ในการขยายตลาดใหม ั ่ทั.งในและ
ต่างประเทศ ซึ งจะช่วยยกระดับรายได้ของเกษตรกรทุกระดับ และสร้างความเข้มแข็งให้กับ
เศรษฐกิจสังคมระดับชุมชนได้
ทีสําคัญทีสุด สินค้าเกษตรอินทรีย์ยังเป็ นวิถีชีวิตทีลดผลกระทบต่อสิงแวดล้อมและ
เป็ นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืน ลดความเสียงต ่อสุขภาพของทั.ง เกษตรกร ผู้ผลิตและ
ผู้บริโภค ส่งผลให้ประชากรมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตทีดีขึ.น ซึงจะส่งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
ไทยระยะยาวด้วย จึงกล่าวได้วาการพัฒนาและการส ่ ่งเสริมตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์มีส่วนช่วยใน
การพัฒนาเศรษฐกิจไทยให้ขยายตัวได้ในทุกมิติ (Inclusive Growth)
การศึกษานี
มีวัตถุประสงค์ทีระบุปัจจัยหลักในการผลักดันธุรกิจดังกล่าวไปสู่ตลาดให้
กว้างขวางและยังยืน และนํามาบ ่งชี
ปัจจัยทีหน่วยงานภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชนทีเกียวข้อง
ต้องสนับสนุนสถาบันเกษตรกร ซึงผู้วิจัยได้ใช้กรอบวิเคราะห์ทีให้ความสําคัญกบปัจจัยภายในและ ั
ปัจจัยภายนอกองค์กรควบคู่กนไป ก ั ่อนนํามาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพทีได้จากวรรณกรรมและ
กรณีศึกษาจากต้นแบบทีประสบความสําเร็จ (Success Story) รวมถึงการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ
สินค้าเกษตรอินทรีย์ทีประสบความสําเร็จ พร้อมทั
งเสนอแนวทางในการเพิมความสามารถทางการ
แข่งขัน ซึงจําเป็ นต้องอาศัยการร่วมผลักดันระหวางหน ่ ่วยงานทีเกียวข้องตั
งแต่ต้นนํ
าจนถึงปลายนํ
า
รวมทั
งการกาหนดบทบาท ทิศทางและมาตรการเชิงรุกให้มากขึ ํ
น เพือเป็ นการยกระดับมูลค่าและ
การพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ให้มีศักยภาพในการแข่งขันในตลาดโลกได้อย่างมันคงและ
ยังยืน
abstract:
Abstract
Title Strategies for Developing and Promoting Thailand’s Organic Food Products
Subject Economics
Researcher Mr. Vuttikrai Leewiraphan NDC 57
The Thai economy has long been driven by international trade. During the past decades, the
Thai economy experienced a remarkable change of the economic structure from agriculture-oriented
economy to the one driven by manufacturing and agro-business industries that heavily relied on cheap
labor and low technology.
Nowadays, the age of cheap and abundant labor has been consigned to history. The
agricultural sector has encountered a shortfall in technological improvement and modern management
techniques. On top of that, the manufacturing industry of low-technology products has competitively been
challenged by our neighboring competitors that are abundant in cheap labor.
The excessive dependency on international trade has exposed the Thai economy to all kinds
of external shocks. As a result, the Thai economy is always adversely affected whenever the global
economy stumbles. Therefore, it is imperative that the Thai economy be re-balanced towards more
reliance on domestic economy, particularly, on domestic consumption and investment. Furthermore, the
production technology needs to be upgraded to reduce the dependency on foreign technology.
More importantly, the production sector of the Thai economy has to be more demand-driven;
that is, to be more responsive to rapid changes in global consumer demand towards differentiated and
higher-quality products. In addition, modern consumers also tend to be very conscious of health, sanitary,
environmental, and human rights aspects of products as evidenced by the increasing implementation of
non-tariff barriers in various forms.
To achieve the above-mentioned objective, urgent actions from all relevant agencies - both
public and private are required. This is due to the fact that Thailand has, for a long time, been in a “work
hard earn little” vicious cycle. To turn Thailand into a sustainable growth path, Thai entrepreneurs should
be engaged in “work less earn more” activities which could be achieved, among other things, by
developing and promoting organic food products.
There are many reasons why organic food products could be the answer to the challenges
Thailand has been facing. Firstly, Thailand is traditionally an agricultural country that has suitable climate
and fertile land for agricultural activities. Despite that, Thailand agricultural products are still produced en
masse and are characterized by low quality and, hence, low prices. Moreover, efficient cost and stock
management system is still lacking. Organic food products are the answer to the problem because the strength of organic food
products is the quality rather than quantity. This, therefore, could help alleviate the problem of oversupply
of various agricultural products and bring about a rise in prices. This could, in turn, promote the
sustainable development of Thailand’s agricultural sector.
Organic food products can also serve the needs of consumers in the global market who are
very selective about product quality, hygiene, and environmental friendliness. Additionally, organic food
products are more responsive to ever-changing standards, policy measures, and regulations in the global
market. Promoting organic food products is also a good way to apply “Green Innovation” to increase
value added and product differentiation. This will subsequently create market opportunities for Thai
products –both domestically and internationally - which will raise farmers’ income as well as strengthen
the socio-economic development of Thailand at a community level.
Most importantly, organic food products are associated with reducing adverse environmental
impact and promoting sustainable use of natural resources and healthy livelihood of farmers,
entrepreneurs, and consumers alike. This will have a positive impact to Thailand’s economic development
at large. All in all, promoting organic food products is a sure way to support Thailand’s economic
development in all dimensions (Inclusive growth).
The main objective of this study is to identify factors that determine growth and popularity
of Thailand’s organic food products and take those factors into account to develop policy
recommendations for the relevant public and private agencies to promote sustainable growth of Thailand’s
organic food industry. In doing so, the framework of this study considers and combines factors both
internal and external to an organization before analyzing qualitative data extracted from literature and
several case studies as well as interviews with successful entrepreneurs in organic food industry. This
study also offers policy recommendations to enhance competitiveness of the organic food industry in the
global market, which, nevertheless, requires actions from all upstream and downstream stakeholders.