เรื่อง: การพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาการทองเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี เรื่อง การพัฒนาการทองเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นายวีระศักดิ์ วิจิตรแสงศรี ผูวิจัย นายวีระศักดิ์ วิจิตรแสงศรี หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57 หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57 หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
การพัฒนาการทองเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี ศึกษาความสําคัญดานการพัฒนาการทองเที่ยวที่เกิดขึ้นในจังหวัดสุพรรณบุรี
เปนการศึกษาเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนาการทองเที่ยวในจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งถือเปนจังหวัดที่มีศักยภาพจังหวัดหนึ่งในภาค
กลาง มีความอุดมสมบูรณเนื่องจากเปนพื้นที่ราบลุม เปนเมืองอารยะธรรมขาว และสถานที่ทองเที่ยวมากมาย ทั้งในดานประวัติศาสตร
ศาสนา วัฒนธรรม ธรรมชาติ และวิถีชีวิตลุมแมน้ําทาจีน รวมทั้งแหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น โดยเปนที่รูจักกันดี คือ บึงฉวากเฉลิม
พระเกียรติ และอุทยานมังกรสวรรคสุพรรณบุรี โดยมีจํานวนนักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวในจังหวัดสุพรรณบุรีเพิ่มขึ้นทุกป โดยในป พ.ศ.
2554 มีนักทองเที่ยวจํานวน 1,659,084 คน เพิ่มขึ้นรอยละ 11.45 เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2553 อันนําไปสูจังหวัดสุพรรณบุรี มีรายไดเพิ่ม
สูงขึ้นจากการบริการดานการทองเที่ยวในภาคสวนตาง ๆ
ในการศึกษาครั้งนี้ ไดศึกษาจากขอมูลในเอกสารตางๆ หนวยงานราชการ และการสัมภาษณขอมูลจากผูที่เกี่ยวของโดย
พบวา ปจจัยสําคัญที่สงผลใหจังหวัดสุพรรณบุรี มีการพัฒนาดานการทองเที่ยวจนเปนที่ยอมรับจากนักทองเที่ยว คือ การมีสวนรวมของผูมี
สวนไดสวนเสียทุกฝาย โดยมีการบูรณาการรวมกันระหวางภาคสวนตางๆ ทั้งภาคราชการ เอกชน ชมรม สมาคมตางๆ ในการพัฒนาแหลง
ทองเที่ยว มีการกําหนดแนวทางการใชประโยชนจากทรัพยากรการทองเที่ยว มีการบรรจุประเด็นดานการพัฒนาการทองเที่ยวไวใน
วิสัยทัศนจังหวัด มีแผนยุทธศาสตร ประเด็นยุทธศาสตร
กลยุทธ ที่ทําใหการทองเที่ยวนําไปสูเปาหมายที่กําหนดไว มีการสงเสริมการทองเที่ยวใหเกิดความยั่งยืน โดยการบริหารจัดการสถานที่
ทองเที่ยวใหมีเจาภาพหลักในการรับผิดชอบดูแล การประชาสัมพันธสถานที่ทองเที่ยว พัฒนาเสนทางคมนาคมใหสะดวกสบาย มีปายแนะนํา
สถานที่ทองเที่ยวตลอดเสนทาง และสรางจิตสํานึกใหประชาชนในพื้นที่รูสึกถึงความเปนเจาของ ที่ตองรวมกันอนุรักษและรักษาไวใหคงอยู
สืบไป
ขอเสนอแนะเพื่อใหการพัฒนาการทองเที่ยวของจังหวัดสุพรรณบุรี ดําเนินไปอยางยั่งยืน คือ ตองใหความสําคัญในการ
สรางเอกลักษณ อัตลักษณของชุมชน และวิถีชุมชน ใหความรูดานการทองเที่ยวแกชุมชนทองถิ่น ประชาชนในพื้นที่ บุคลากรภาครัฐ และ
ภาคเอกชน เนนเรื่องการบริการที่สรางความประทับใหแกนักทองเที่ยว เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา ผูมี
สวนไดสวนเสียทุกภาคสวนตองรวมมือกัน และรูบทบาทของตนเอง หนวยงานภาครัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองใหความสําคัญ
กับการพัฒนาการทองเที่ยวอยางตอเนื่อง โดยสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนา และปรับปรุงการทองเที่ยว ภาคเอกชนตองปรับปรุง
ธุรกิจเพื่อรองรับนักทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา สิ่งเหลานี้คือตัวปจจัยบงชี้ที่จะแสดงใหเห็นวา การพัฒนาการทองเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี
จะเกิดความยั่งยืนตลอดไป
abstract:
ABSTRACT
Title SuphanBuri Tourism Development
Field Economics
Name Mr.Verasak Vichitsangsri Course NDC Class 57
This research on SuphanBuri tourism development studied the important in
developing the tourism in SuphanBuri province. This qualitative research aimed to study the
form of developing tourism in SuphanBuri province, one of the potential provinces in the
central region. With a lot of tourist places, including historical, religious, cultural, and life style of
people in the basin of the Tha Chin River. Moreover, there are alsowell - known manmade
tourist. The amount of tourists coming to SuphanBuri has increased every year. In 2011, there
were 1,659,084 tourists which is 11.45 percent increased comparing to the year 2010.
This study investigated the information from official documents, interviewing the
relevant parties. The results showed that the essential factors effecting the development of
SuphanBuri tourism are orienting the harmonious development in focusing on the participation
of all stakeholders by integrating government and private cooperation in developing the tourist
places. The tourist resources utilization was set, the issue about tourism development was
mention in the province vision, the strategic plan, issue and strategies were specify in order to
develop the tourism to meet the goal set. The province has promoted the sustainable tourism,
managed to have the host to respond each tourist place, advertised the tourist places,
developed convenient routes with signs to suggest the tourist places, and raised awareness of
ownership and conservative to local community.
The following suggestion was made to help developing the sustainable tourism in
the province; the conservation of community identity, provide knowledge about tourism for
the local community government and private sector officers focusing on giving impressive
services to the tourists, let the people involved in the process of development by cooperating
and perceiving their roles. The central and local government organizations have to continually
give precedence to tourism development by supporting budget to develop and improve
tourism. Private sectors have to adjust their business to support the increasing number of
tourists. These factors indicate the sustainability of Suphan Buri tourism.