Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การต่อสู้ทางความคิดเพื่อเอาชนะการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ทรงพล สวาสดิ์ธรรม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง การต่อสู้ทางความคิดเพÉอืเอาชนะการก่อความไม่สงบในจงัหวดัชายแดนภาคใต้ ลกัษณะวชิา ยทุ ธศาสตร์ ผ ู้วจิัย นายทรงพล สวาสดิÍธรรม หลกัสูตร วปอ. รุ่นท ีÉ ŝŞ เอกสารวิจยัฉบบั นÊีมุ่งศึกษาโครงสร้างทางความคิดและการบ่มเพาะเผยแพร่อุดมการณ์ ของกลุ่มก่อความไม่สงบในจงัหวดั ชายแดนภาคใต้รวมทÊงัศึกษา วิเคราะห์การดาํ เนินงานของ รัฐไทยในการต่อสู้ทางความคิดกบักลุ่มก่อความไม่สงบ ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการพฒั นาการ ต่อสู้ดงักล่าวให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิÉงขึÊน ทัÊงนีÊโดยใช้วิธีดาํ เนินการวิจยัเชิงคุณภาพ จาก การศึกษา ประมวลวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลต่างๆ การรับฟังความคิดเห็น สนทนาเชิงลึกกบั กลุ่มเป้าหมายเฉพาะและประสบการณ์ตรงของผวู้จิยั ผลการวิจยัสรุปได้ว่า ปัญหาใจกลางของเหตุการณ์ไม่สงบในจงัหวดั ชายแดนภาคใต้ ของไทย คือ ปัญหาเรืÉอง “ความคิด ความเชืÉอ” โดยรากฐานทางความคิดของกลุ่มก่อความไม่สงบซÉึง เป็ นทีÉมาของความคิดตอ่ สู้กบัรัฐไทยคือ ชาติ(มลายู)ศาสนา (อิสลาม)และมาตุภูมิ(ความทรงจาํใน ประวตัิศาสตร์แห่งรัฐปัตตานี) ซÉึงกลุ่มก่อความไม่สงบไดน้ าํองคป์ ระกอบทÊง ั ś ประการมาผูกเชืÉอม ร้อยเรียงเป็ นวาทกรรมทีÉทรงพลัง จนกลายเป็นจิตสํานึกร่วมของประชาชนในพÊืนทีÉดงักล่าวจาํนวน ไม่น้อย และสามารถปฏิบตัิการข่าวสาร รวมทÊงัใช้กลยุทธ์ต่างๆโน้มน้าว จูงใจให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมขบวนการแบ่งแยกดินแดนได้จาํ นวนมาก ในขณะทีÉรัฐไทยยังไม่มียุทธศาสตร์ยุทธวิธี แผนปฏิบตัิการและการดาํ เนินการต่อสู้ทางความคิดอยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดงันÊัน ผูว้ิจยัจึงมีขอ้ เสนอแนะให้รัฐไทยให้ความสําคญั กบัการต่อสู้ทางความคิดอย่าง จริงจงั โดยการกาํ หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ยุทธวิธีรวมทÊงัแผนงาน โครงการ มาตรการต่าง ๆ และระบบการบริหารจดัการ ติดตาม ประเมินผล พฒั นาการดาํ เนินการอย่างเป็นระบบ ต่อเนืÉอง และมีลักษณะเป็นการทาํงานในเชิงรุก ทัÊงนีÊผูว้ิจยัได้นําเสนอแนวทางการจดั ทาํ “ชุดความคิด” ของรัฐไทย เพืÉอใช้ในการต่อสู้ทางความคิด รวมทÊงัการกาํ หนด “จุดเน้น” ของ “งานการเมือง” ทีÉรัฐควรดาํ เนินการ ตลอดจนแนวทางการเพิÉมประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของงานประชาสัมพนัธ์ การปฏิบตัิการข่าวสารและบูรณาการแผนงาน/โครงการของทุกหน่วยงาน องค์กร ตามแผนพฒั นา ให้สอดคล้องและเอืÊอประโยชน์ในการต่อสู้ทางความคิดยิÉงขึÊน นอกจากนีÊยงัได้เสนอให้ใช้ อุดมการณ์ทางเลือกเพืÉอทดแทนการใชค้วามรุนแรงดว้ย

abstract:

ABSTRACT Title Ideological Warfare to overcome the Insergency in the Southern Border Provinces of Thailand Field Strategy Name Songpon Savastham Course NDC Class 56 This research is focused on the thought process, growth and wide spreading of beliefs by the Thailand Southern insurgents. It also includes studies and analysis of the Thai State position in handling and counter-measuring of such belief. The research, additionally, outlines the methodical processes to improve the State's counteraction to be more efficiently and effectively using qualitative researches through gathering information from different sources, in-dept discussion with different group as well as the researcher's first hand experiences. The study concludes that the core problem of the unrest in the South lies in " The Belief" . Such belief, which is the cause of the outbreak, sprung from the belief in Nation ( Malayo) , Religion (Islam) and Motherland (the deep seeded remembrance of history of the Kingdom of Pattani). The insurgents have been articulately woven the three Belief together into powerful discourses and successfully turns them into a part of the community's conscious. They also succeeded in spreading such Belief in strategic manners and put in place various method such as motivating, inspiring and encouraging in their recruitment strategies. Meanwhile, the Thai state does not have such policy or strategy in place to efficiently and effectively countermeasure the insurgent's procedures. On this basis, the researcher would propose the Thai State to emphasis on the belief countermeasure. This can be achieved by setting policies, strategies and create structural management as well as follow ups, evaluation and improvements systems as an offensive strategy. The researcher has outlined in details the "Though Package" for Thai State as a countermeasure of the insurgent's as well as identified the " Emphasised Pointers" and strategised roadmap for " Political Agenda" for the State to consider in order to improve the efficiency and effectiveness of Public Relations and Information Operation. This strategy aims to harmonise all relevant policies and strategies from different units to commonly and integrally benefit from the countermeasure means. The study also proposes Optional Ideology to replace the use of forces.