Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การปรับปรุงภาษีสรรพสามิตเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว วิไล ตันตินันท์ธนา
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การปรับปรุงภาษีสรรพสามิตเพื่อรองรับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย นางสาววิไล ตันตินันท'ธนา หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗ กรมสรรพสามิตเป+นหนวยงานหนึ่งกระทรวงการคลังที่จัดเก็บภาษีจากสินคาและบริการ ภายใตวัตถุประสงค'หลัก ไดแก สินคาและบริการที่บริโภคแลวอาจกอใหเกิดผลเสียตอสุขภาพและ ศีลธรรมอันดี ฟุ6มเฟ7อย และสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เป+นตน และในป8 ๒๕๕๘ ประเทศไทยจะเขา เป+นสวนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ซึ่งเป+น สวนหนึ่งของการเป+นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community: AC) โดยรัฐบาลไดใหความสําคัญกับ การเขาสูประชาคมอาเซียนซึ่งเป+นจุดเริ่มตนที่กลุมประเทศสมาชิกพยายามที่จะบรรลุจุดมุงหมายเพื่อ นําประเทศไทยไปสูการเป+นประชาคมอาเซียนที่สมบูรณ' ซึ่งกรมสรรพสามิตจําเป+นตองตระหนักถึง ยุทธศาสตร'ที่สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการจัดเก็บภาษีโดยการพัฒนาระบบภาษีสรรพสามิตให เป+นมาตรฐานสากล และเป+นหลักการเดียวกันในภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนพัฒนาศักยภาพบุคลากรให มีความเป+นมืออาชีพมากขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจาก บทบาทของกรมสรรพสามิตในอนาคตที่อาจจะตองมี ภารกิจในดานการจัดเก็บภาษีที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น กรมสรรพสามิตจึงจําเป+นตองวิเคราะห'ปPจจัย ภายนอกและปPจจัยภายในตาง ๆ ที่มีผลตอระบบภาษีสรรพสามิตและพัฒนาองค'กรเพื่อรองรับการ เขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนซึ่งจะเป+นประโยชน'ตอการจัดเก็บภาษี รายไดของประเทศ และการ ลงทุนภาคอุตสาหกรรมในประเทศในอนาคต ทั้งนี้ หลังจากการวิเคราะห'ซึ่งจะนําไปสูการนําเสนอ ขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงยุทธศาสตร'ภาษีสรรพสามิตในอนาคต ตอไป การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค'เพื่อศึกษาระบบภาษีสรรพสามิตของไทยและประเทศสมาชิก อาเซียน และวิเคราะห'ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับภาษีสรรพสามิตของไทยในการเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน อีกทั้ง จัดทําขอเสนอแนะการปรับปรุงระบบภาษีสรรพสามิต รวมถึงปรับปรุงการ บริหารจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วิธีดําเนินการวิจัยนั้น ผูวิจัยจะดําเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาทฤษฎีดานการ บริหารจัดการในหัวขอการวิเคราะห'สภาพแวดลอมและศักยภาพ (SWOT analysis) และ การ วิเคราะห'แผนงาน (PEST analysis) และศึกษาการรวมกลุมและการดําเนินนโยบายดานกฎหมายของ ประเทศพัฒนาแลวที่มีการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ (สหภาพยุโรป) รวมถึงศึกษาและรวบรวมขอมูล ข ระบบภาษีสรรพสามิตของไทยและประเทศสมาชิกอาเซียนสําหรับภาษีสรรพสามิตจากสินคาหลักที่ทํา รายไดสรรพสามิตมากที่สุดและถูกจัดเก็บในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน อีกทั้งยังศึกษาและวิเคราะห' แนวทางในการดําเนินยุทธศาสตร'และการบริหารจัดเก็บภาษีสรรพสามิต รวมถึงการพัฒนาโครงสราง องค'กรและบุคลากรภายในองค'กรอีกดวย ประโยชน'ที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย คือ ทําใหทราบถึงระบบภาษีสรรพสามิตของ ประเทศสมาชิกอาเซียน และรูปแบบความรวมมือการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศที่จะ นํามาประยุกต'ใชในประขาคมอาเซียน และทําใหทราบถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับกรมสรรพสามิต ทําใหกรมสรรพสามิตสามารถเตรียมการเพื่อรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียนอยางมืออาชีพตอไป รวมถึงทําใหไดแนวทางในการปรับปรุงภาษีสรรพสามิตใหมีประสิทธิภาพและมีความพรอมในการเขาสู ประชาคมอาเซียน

abstract:

- ๗๕ - ABSTRACT Title Excise Tax Reform for ASEAN Economic Community (AEC) Field Economics Name Miss Wilai Tantinantana Course NDC Class 57 Excise department is tax agency under the Ministry of finance which collect excise tax from a certain type of goods and services. The objectives of Excise tax are luxurious and having impacts on health, morality, and environment. Moreover, Thailand, in 2015, will be part of ASEAN Economic Community (AEC) which is one of the 3 pillars of ASEAN Community (AC). The royal Thai government concentrates on being a part of AEC which is the starting point for cooperation among ASEAN member countries in order to achieve the collective ultimate objectives. Hence, the Excise department should consider strategy that is able to enhance efficiency by developing tax administration in order to meet international standard. The Excise department should try to encourage collaboration on taxation among ASEAN member countries. Besides, the Excise department needs to develop officers to be professional human resource. In the future, the Excise department will play an important role on taxation in dynamic arena and support private investment. Thus, the Excise department needs to analyze both internal and external factors, which will impact taxation system, and to develop the organization. The objective of this research paper is to study the Excise tax system of Thailand and ASEAN member countries as well as to analyze the impact of AEC on the Excise tax system. Moreover, the suggestions on improving excise tax system including improvement of tax administration to support AEC. The research procedure is qualitative research method by studying theories on management which are SWOT analysis and PEST analysis, analyzing economic integration process including legal issue which related to tax administration, studying ASEAN and Thai taxation in common excisable products, and analyzing strategy and tax administration process and structure including organization structure as well as human resources. The benefit from this research paper is to illustrate ASEAN excise tax system and economic integration which can be applied in ASEAN member countries. Moreover, this research paper also gives recommendations for the Excise department to improve efficiency in taxation and to be ready for incoming year of AEC 2015.