เรื่อง: แนวทางการส่งเสริมการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว วิมลลักษณ์ ชูชาติ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนารูปแบบการแต่งกายไทยให
้
มีความทนั สมยัและยงั่ ยืน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วจิยั นางสาว วิมลลักษณ์ ชูชาติ หลักสูตรวปอ.รุ่นที่57
การวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนารูปแบบการแต่งกายไทยให้มีความทนั สมยัและยงั่ ยืน
น้นั มุ่งเน้นศึกษาประวตัิศาสตร์ทางวฒั นธรรม แนวคิด และรูปแบบเครื่องแต่งกายตามเอกลักษณ์
ไทยศึกษาปัญหา อุปสรรค ในการน าเครื่องแต่งกายไทยไปพัฒนา เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนา
รูปแบบเครื่องแต่งกายไทยใหม้ีความทนั สมยัและยงั่ ยนื
ผลการวิจัยพบว่าการแต่งกายไทยมีวิวัฒนาการมาเป็ นล าดับ โดยข้ึนอย่กู บั เหตุผลและ
ปัจจัยที่มาเกี่ยวข้อง สอดคลอ้งกบัการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและความมนั่ คงของชาติรูปแบบ
การแต่งกายไทยเพื่อความทนั สมยัและยงั่ ยืนรูปแบบที่1อนุรักษ์เพื่อสืบทอด อันได้แก่ เครื่องแต่ง
กายในแต่ละรัชกาล ต้งัแต่รัชกาลที่1 - 9 เน้นคงแบบและผา้ด้งัเดิมไวเ้ป็นมรดกชาติแนวทางการ
ดา เนินงานหลกัจึงควรเนน้การถ่ายทอดคุณค่าและเพิ่มการรับรู้ใหก้ บัคนรุ่นใหม่ไดเ้ขา้ใจ เห็นคุณค่า
และหาทางพัฒนาต่อยอด หาช่องทางเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และโอกาสให้คนไทยทุกรุ่นทุกวัยได้
สวมใส่ เพิ่มสิทธิพิเศษสา หรับคนสวมใส่หรือให้การสนับสนุนรูปแบบที่2 รักษาเพื่อสืบสาน อัน
ไดแ้ก่ชุดไทยพ้ืนถิ่นเนน้การคงเอกลกั ษณ์ของทอ้งถิ่น แนวทางการด าเนินงานหลัก คือการค้นหา
ส่งเสริม และเพิ่มความหลากหลายใหก้ บัวฒั นธรรมทอ้งถิ่น ส่งเสริมให้ท้องถิ่นต้งัแต่ระดบั ภูมิภาค
ลงไปเป็นผดู้า เนินการสืบสานเอกลกั ษณ์การแต่งกายประจา ทอ้งถิ่น ให้ความรู้ที่ถูกต้อง จัดแหล่ง
เรียนรู้เกี่ยวกับเครื่องแต่งกายในแต่ละภูมิภาคเพื่อให้เด็กเยาวชน และประชาชนได้มาศึกษาค้นคว้า
ไดเ้ขา้ถึงขอ้มลู เพื่อประโยชน์ท้งัการสืบสาน เผยแพร่และพัฒนา ต่อยอด สร้างแรงบันดาลใจให้กับ
นักออกแบบและนักธุรกิจต่อไปรูปแบบที่3 พัฒนาเพื่อต่อยอด อนั ไดแ้ก่ชุดไทยประยุกต์เพื่อเพิ่ม
มูลค่าทางเศรษฐกิจแนวทางการด าเนินการคือจดั ต้งัศูนยว์ิจยัและพฒั นารูปแบบเครื่องแต่งกายที่
ยังคงเอกลักษณ์ไทยคุณภาพและลวดลายผ้าไทยผา้พ้ืนเมือง และเทคโนโลยีการผลิตที่ลดต้นทุน
และเพิ่มคุณภาพ จดัทา มาตรการกระตุน้ ใหภ้ าคธุรกิจหนั มาใหก้ ารสนับสนุนผา้พ้ืนเมือง ผา้ทอ้งถิ่น
ผ้าไทยที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานแล้ว เช่น การลดภาษีสิ่งทอไทยการเปิ ดตลาดใน
ต่างประเทศ เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด ผา้ไทยท้งในและต่างประเทศ ั ส่งเสริมการต่อยอดธุรกิจที่ใช้
วัสดุและผ้าไทยในการออกแบบสินค้าต่างๆ พฒั นาผปู้ระกอบการทอ้งถิ่นที่มีศกัยภาพให้สามารถ
ด าเนินธุรกิจได้ในตลาดสากลจัดหาแหล่งทุนและพัฒนาแหล่งวัตถุดิบที่ได้คุณภาพ
abstract:
ABSTRACT
Title Guideline on the improvement towards Thai dressing and clothing to be more
modern and endure.
Field Social -Psychology
Name Ms.Wimolluck Chuchat Course NDC Class 57
The researchonguideline onthe improvement towards Thaidressingandclothingtobe
more modernandendureemphasizeonthelearningonthehistorytowardsculture,conceptandstyleof
Thai identitydressingandclothing.Studyonproblem,obstacleonimprovementof Thaiclothes. Tobe
abletoanswer theguidelineon Thaidressingandclothingtobe more modernandendure.
The result from the research found out that The Thai dressing and clothing has been
evolvedstep by step; it dependson related reason and factor. Also, the change of political power and
national stabilityarepartof thereasons. Typeofmodern Thaidressingimprovementhasbeenclassified
to3categories.First, conservedfor inherit; whichis the9reigns Thaidressingsince the 1st reignuntil
now (9th). Thefabrictypeandstylestillkeepsthesametobe Thainationalheritage. Themainoperation
willbefocusedonconveyingthevalueandincreaseawareness totheyoungergenerationtounderstand
thevalueandseekfurtherdevelopment.Finda waytodisseminateinformationandgiveanopportunity
for Thaipeople at all ages to wear.Second, conservedfor carry on; suchas Thai regional clothing by
continuedemphasisonlocal identity. The maintaskis tofinda wayofpromotingandaddvarietytothe
localculture. Encouraginglocal from regional tocontinue tooperateits localdress. Raiseawarenesson
learning about costumes in each region so that children and young people will be able to study the
regionalclothing. Have access tothe benefitof boththe publishingandcontinuingdevelopmentof the
new inspiration for designers and business in the future. Third, development for continuation; such as
applied Thaiclothes for increasingeconomicvalues. Theactionis setbythe researchanddevelopment
model center towards Thai unique outfit. Thai native clothes, fabric quality and design and
manufacturingtechnologytoreducecostsandimprovethequality.Preparationofmeasurestoencourage
businesses that turns to support local fabric, Thai clothfabric that has been improving the quality and
standards.Suchastaxcutson Thai textiles,openmoreabroadmarkets, increase Thaifabricmarketshare
inbothdomesticandinternational.Promotefurtheruseof Thai materialandfabricbusinesses.Potential
developmentof local enterprises to conduct business in international markets.Sources of funding and
developmentof raw material inhighquality.