Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การปฏิรูป การบริหารจัดการสื่อมวลชนของกองทัพเรือเมื่อเกิดภัยพิบัติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี วิพันธุ์ ชมะโชติ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง การปฏิรูปการบริหารจัดการสือมวลชนของกองทัพเรือเมือเกิดภัยพิบัติ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลเรือตรี วิพันธุ์ ชมะโชติ หลักสูตรวปอ.รุ่นที ทุกครังเมือมีภัยพิบัติเกิดขึนกองทัพเรือจะต้องปฏิบัติภารกิจในการให้ความช่วยเหลือ พีน้องประชาชน ซึงภารกิจดังกล่าวมีส่วนเกียวข้องกับสือมวลชน การวิจัยครังนีจึงมีวัตถุประสงค์ เพือศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบการบริหารจัดการสือมวลชนของกองทัพเรือเมือเกิดภัยพิบัติในอดีต ค้นหาจุดอ่อนจากกระบวนการปฏิบัติ เพือเสนอแนะแนวทางการปฏิรูป กระบวนการและรูปแบบ การบริหารจัดการสือมวลชน เพือใช้เป็ นเครืองมือในการสนับสนุนเกือกูลการปฏิบัติภารกิจชอง กองทัพเรือเมือเกิดภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพเพิมขึนและสมบูรณ์ครบถ้วน โดยการวิจัยได้ใช้สารสนเทศและแหล่งข้อมูลหลักจากทฤษฏีทีเกียวข้องกับการบริหาร สือมวลชนทังในภาวะปกติและภาวะวิกฤต การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึงมีประสบการณ์ ตลอดจน สือมวลชนทีเคยปฏิบัติงานในพืนทีรับผิดชอบของกองทัพเรือเมือเกิดภัยพิบัติจากนันได้นําข้อมูล ทีได้มาสร้างรูปแบบและแนวทางการบริหารจัดการสือมวลชนทีเหมาะสมกับโครงสร้างของศูนย์ บรรเทาสาธารณภัยกองทัพเรือ ผลการวิจัยพบว่า ในอดีตทีผ่านมากองทัพเรือมิได้มีการบริหารจัดการสือมวลชน ในภาวะวิกฤต ทําให้ไม่สามารถใช้สือมวลชนเป็ นกลไกในการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจได้อย่าง มีประสิทธิภาพ คงมีเพียงการใช้สือมวลชนเป็ นเครืองมือในการประชาสัมพันธ์ผลงาน โดยเฉพาะ อย่างยิงผลงานซึงเป็ นกิจกรรมของผู้บังคับบัญชา ซึงไม่ใช่เป้ าหมายสําคัญทีแท้จริงของการใช้ สือมวลชนตามทฤษฏีของการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤตแต่อย่างใด ดังนัน หากกองทัพเรือมีการปฏิรูปการบริหารจัดการสือมวลชนเมือเกิดภัยพิบัติ และครอบคลุมไปถึงผู้เกียวข้อง อันได้แก่ กําลังพล ประชาชน ผู้สนับสนุน ผู้บังคับบัญชา ย่อมทําให้ การปฏิบัติภารกิจเป็ นไปอย่างสะดวกรวดเร็วและสมบูรณ์ครบถ้วนยิงขึน โดยทุกฝ่ ายได้รับประโยชน์ ร่วมกันและนันย่อมหมายถึงว่า กองทัพเรือพร้อมทีจะเผชิญกับภารกิจเมือเกิดภัยพิบัติด้วยความ มันใจเต็มเปียม ไม่ว่าภัยพิบัตินันจะร้ายแรงสักเพียงใดก็ตาม

abstract:

ABSTRACT Title : Media Management for Rayal Thai Navy In Crisis Field : Military Name : RADM Wipan Chamachote Course NDC Class 57 Whenever the catastrophes occur, Royal Thai Navy plays a major role in helping people. Those activities are partly related to the media. This research, therefore, aims to study and analyze the pattern of Royal Thai Navy’s media management in the past catastrophes in order to indicate weak point and suggest the improvement plans. These will be the tools to enhance the efficient of Royal Thai Navy’s mission in catastrophes period. The research found out that in the past Royal Thai Navy didn’t have the media management in crisis. Therefore, the media didn’t efficiency support the mission. The media was only used to promote the success especially the ones of high ranking officers. These were not the goal of media management in crisis theory. In summary, if Royal Thai Navy has a media management in crisis plan, it will enhance the efficient of the mission and benefit both Royal Thai Navy and the media.