เรื่อง: การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของกองทัพอากาศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี ทรงพล แจ้งสี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง การพัฒนาการเป็ นองค์การแห่งการเรียนร้ของกองทัพอากาศ ู
ลักษณะวิชา การทหาร
ผ้วิจัย พลอากาศตรี ทรงพล แจ้งสี ู หลักสูตร วปอ. ร่นที
56 ุ
การวิจัยครังนีมีความมุ่งหมายเพือ ) ศึกษาการเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกองทัพอากาศ
2) เปรียบเทียบการเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกองทัพอากาศ โดยจําแนกตาม อายุ ระดับการศึกษา
ระดับชันยศ ประสบการณ์การทํางาน จํานวนครังการเข้าร่วมอบรมสัมมนาในรอบ ปี ทีผ่านมา
และการแลกเปลียนเรียนรู้กบเพือนร ั ่วมงานในรอบ ปี ทีผ่านมา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการ
และลูกจ้างบางส่วน ในส่วนบัญชาการ กาลังรบ ส ํ ่งกาลังบํารุง การศึกษา และส ํ ่วนกิจการพิเศษ
จํานวน 1,045 คน เครืองมือใช้แบบสอบถามทีผู้วิจัยสร้างขึน โดยผ่านการตรวจจากผู้เชียวชาญ : คน
มีค่าความเชือมัน ;.=66 เก ็บรวบรวมข้อมูลในวันที 25 - @A มีนาคม 2557 และนํามาวิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูป เพือหาความถี (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลีย (Mean) ส่วนเบียงเบน
มาตรฐาน (S.D.) การทดสอบที (T-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)
โดยการทดสอบเอฟ (F-test) และทดสอบความแตกต่างค่าเฉลียเป็ นรายคู่ภายหลัง (Post hoc test)
ด้วยวิธีการของฟิ ชเชอร์ (Fisher’s Least-Significant Difference: LSD) และ :) พัฒนาองค์การแห่ง
การเรียนรู้ของกองทัพอากาศ
ผลการวิจัยพบวา ่
. การเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกองทัพอากาศ ในภาพรวมอยูระดับปานกลาง ่
และเมือพิจารณารายด้าน โดยเรียงตามลําดับค่าเฉลียสูงสุด : ลําดับแรก ได้แก่ ด้านการจัดเก็บความรู้
ด้านการใช้ความรู้ และด้านการแบ่งปันความรู้ ส่วนด้านทีมีค่าเฉลียตําทีสุด คือ ด้านการแสวงหาความรู้
@. เปรียบเทียบความแตกต่าง การเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกองทัพอากาศ โดยจําแนก
ตาม อายุ ระดับการศึกษา ระดับชันยศ ประสบการณ์การทํางาน จํานวนครังการเข้าร่วมอบรมสัมมนา
ในรอบ ปี ทีผานมา และการแลกเปลียนเรียนรู้ก ่ บเพือนร ั ่วมงานในรอบ ปี ทีผานมา ไม ่ ่แตกต่างกน ั
:. พัฒนาการเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกองทัพอากาศ โดยพบวา การพัฒนาการ ่
เป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกองทัพอากาศนัน หน่วยต่าง ๆ ในกองทัพอากาศจําเป็ นต้องมีการจัดเก็บ
องค์ความรู้ในแต่ละสายวิทยาการ และสามารถนํามาถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เพือให้องค์ความรู้อยูก่ บั
องค์กรและสามารถทีจะพัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ได้อยางยั ่ งยืน
abstract:
ABSTRACT
Title The Learning Organization Development of the Royal Thai Air Force
Field Military
Name Air Vice Marshal Songpon Jangsri Course NDC Class 56
The objectives of this research were 1) to study the Royal Thai Air Force’s Learning Organization
2) to compare the Royal Thai Air Force’s Learning Organization. The survey was classified by ages, educational
backgrounds, military ranks, working experiences, the seminar attendances in the past year included with
the knowledge sharing among their colleagues. The sampling samples were 1,045 Royal Thai Air Force
Personnel and Employees in the Headquarters, Combat Group, Logistics Group, Educational Group as well as
Special Service Group of the Royal Thai Air Force. The research instrument was questionnaire approved
by 3 experts with the reliability yet 0.966. The period of data collection was in March 25 - 28, 2004.
The data was analyzed by using SPSS program where as the statistical analysis was performed through
frequency distribution, percentage, mean and standard deviation, including T-test, One-Way ANOVA and
F-test. Test for differences in mean scores of the two groups using Fisher's Least Significant Difference (LSD).
3) to develop the Royal Thai Air Force’s Learning Organization.
The results of the study were as follows :
The Royal Thai Air Force moderately meets the criteria of Learning Organization in general,
based on the four components namely, the storage of knowledge, the accessibility of knowledge, the sharing-ness
of knowledge and the acquisition of knowledge respectively. A comparison of these factors in terms of ages,
educational backgrounds, military ranks, and working experiences of the seminar participants as well as
the sharing-ness of knowledge among companions in the past year did not have a significant difference.
The development to become the Royal Thai Air Force’s Learning Organization revealed that each section
in the whole organization needs to be based on the storage of the knowledge which has been classified into
specific field and this can be easily transferred such a knowledge from generation to generation. Finally, it leads
to the sustainable development of the organization knowledge management.