Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: B-CM (Buriram Case Management) ต้นแบบกระบวนการขับเคลื่อนธรรมาภิบาลชุมชนโดยธรรมนูญหมู่บ้าน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิทยา จันทร์ฉลอง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

- ก - บทคัดยอ เรื่อง B - CM (Buriram Case Management) ตนแบบกระบวนการขับเคลื่อน ธรรมาภิบาลชุมชนโดยธรรมนูญหมูบาน ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย นายวิทยา จันทรฉลอง หลักสตูร วปอ. รุนที่ 57 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา แนวคิดธรรมาภิบาลเปนแนวคิดที่ถูกหยิบยกมาใชแกปญหากระแสการเปลี่ยนแปลง ที่สําคัญทั้งภายนอกและภายในประเทศที่ปรับเปลี่ยนอยางรวดเร็วและซับซอนมากยิ่งขึ้น เนื่องจาก มีความเชื่อวาหลักธรรมาภิบาลจะสามารถสรางกลไกประชารัฐที่ดี และสามารถสงเสริมสนับสนุน การพัฒนาคนในสังคมใหมีความยั่งยืนได รวมถึงปจจัยภายในจังหวัดบุรีรัมย ไมวาจะเปนเรื่องการ กอสรางสนาม i-mobile Stadium การกอสรางสนาม Chang International Circuit หรือการเปด ชองผานแดนสายตะกู ที่ยอมสงผลกระทบในดานคุณธรรม จริยธรรม วิถีชีวิต ของคนในชุมชน ดังนั้น จังหวัดบุรีรัมยจึงไดนําตัวแบบระบบการบริหารจัดการรายกรณี B-CM Model : Buriram Case Management Model มาใชในการขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัด ซึ่งวัตถุประสงคในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย การศึกษาแนวทางในการสรางธรรมนูญหมูบาน ใหกับชุมชน และเพื่อใหไดรูปแบบ B-CM (Buriram Case Management) ตนแบบที่เหมาะสม เพื่อนําไปขยายผลในระดับประเทศตอไป โดยศึกษาหมูบานตนแบบในจังหวัดบุรีรัมย 23 อําเภอ อําเภอละ 2 หมูบาน รวม 46 หมูบาน ซึ่งใชขอมูลปฐมภูมิ และการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของและผูมี สวนไดสวนเสีย ผลการวิจัยพบวากระบวนการ B – CM มีปจจัยแหงความสําเร็จและนวัตกรรมที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินงานขับเคลื่อนกระบวนการ B - CM ทั้งจังหวัด ซึ่งกอใหเกิดกระแสการสราง ธรรมาภิบาลโดยคนในชุมชน แตเพื่อความยั่งยืนและสามารถนําไปขยายผลยังจังหวัดที่มีบริบท ใกลเคียงกับจังหวัดบุรีรัมยนั้น จึงควรปรับรูปแบบบางประการ เชน การบูรณาการงานที่เกี่ยวของ การพัฒนาคนและเครือขายในชุมชน การประสานงาน การจัดอบรมใหความรู การสงเสริมการมีสวน รวมของชุมชน เนื้อหาสาระของธรรมนูญหมูบาน การจัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะดาน ก า ร พั ฒ น า บุคลากร เปนตน

abstract:

ABSTRACT Title : B - CM (Buriram Case Management) , the process of good governance by using village constitution. Field : Politics Name : Mr.Wittaya Chanchalong Course : NDC Class : 57 The objective of this study were as follows : to study the social context of Buriram Province, to study the method in building the rule in the village of Buriram Province and to find the method in building the rule in the village to extend the result to another provinces. It was a qualitative research by interview the community leadership from 46 villages in the process of buiding good governance in community. The topic that related in research were the administration and the potential of community leadership, the participation in community and the associate, and the result of buiding good governance in community. The results were as follows : the rule in the village will sustainable when the villager are in the process of thinking and doing, and the model of building the rule in the village are the governor and the villager are in all process, they have to divide up the works, and the governor should have the transparency in work responsibility. The recommendation of this research in the way that extend B – CM model to other province is they should increase the conference process to set the framework that the executor can work on the same page. Moreover the government should develop human resource in their village and provide the budget to the executor. Public sector in province must be unite, support the execute and publicize the process. The establishment for education in the province must be the center in driven the project instead of the government officer because if they are retire or change their workplace, this process will be driven continuously.