Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการนำหลักธรรมาภิบาลไปสู่การปฏิบัติของส่วนราชการส่วนภูมิภาค กรณีศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วันชัย คงเกษม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการนําหลักธรรมาภิบาลไปสูการปฏิบัติของสวนราชการสวนภูมิภาค กรณีศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย นายวันชยั คงเกษม หลักสูตร วปอ. รุนที่57 การวิจัยเรื่องแนวทางการนําหลักธรรมาภิบาลไปสูการปฏิบัติของสวนราชการสวน ภูมิภาค กรณีศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาปญหา และอุปสรรคสําคัญ ที่สงผลตอการขับเคลื่อนการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาลของราชการสวนภูมิภาค และ 2. เพื่อศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติของสวนภูมิภาคในพื้นที่จังหวัด สมุทรปราการ เนนการวิจัยเฉพาะแนวทางในการนําหลักธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารราชการของ สวนราชการสวนภูมิภาค ไดแก จังหวัดสมุทรปราการ ตามหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ตามพระราช กฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ประกอบดวย หลักนิติ ธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักการมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุมคา โดยใชวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดวยการศกึษาผานการคนควาเอกสารงานวิจัย เอกสารทางราชการ และการสัมภาษณเชิงลกึ (In-depth interview)กลุมเปาหมาย 5 ภาคสวน ไดแก ผูบริหารหนวยงานราชการสวนกลาง ผูบริหารหนวยงานราชการสวนภูมิภาค ผูทรงคุณวุฒิทางดาน กฎหมายในพื้นที่ ผูทรงคุณวุฒิดานธรรมาภิบาลของจังหวัด และผูบริหารองคกรภาคเอกชน ผลจากการศึกษาพบวา ปญหาและอุปสรรคสําคัญของการนําหลักธรรมาภิบาลไปสูการ ปฏิบัติ คือ ปญหาในดานองคกรของราชการสวนภูมิภาค จังหวัดยังขาดความสมบูรณแหงการเปน องคกร ความเขมแข็งของคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด ระบบอุปถัมภการเลือกขางของ ขาราชการ จิตสํานึกและความเขาใจตอหลักธรรมาภิบาล และเพื่อใหการขับเคลื่อนหลักธรรมาภิบาล ไปสูการปฏิบัติใหเกิดผล จําเปนตอง แบงอํานาจ และมอบอํานาจจากราชการสวนกลางใหกับสวน ภูมิภาคสรางประมวลธรรมาภิบาลที่ชัดเจน จัดตั้งสวนงานที่รับผิดชอบงานธรรมาภิบาลของสวนราชการ โดยตรง ผูบริหารตองใหความสําคัญและปฏิบัติตัวเปนแบบอยาง สรางระบบการลงโทษทางสังคม (social sanction) หรือการคว่ําบาตร (boycott) สงเสริมใหขาราชการมีหลักคุณธรรม และใหภาค ประชาสังคมเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานของภาคราชการ

abstract:

Abstract Title The approach of good governance into Implementation of the Provincial Administration Case study Samutprakan Province. Field Political Name MR.Wanchai Kongkasame Course NDC Class 57 The research Study on good governance into implementation of a government regional case studies in Samutprakan province. The objective of the research 1. To study the issue And significant disruption That affect the public administration, driven by the good governance of the Provincial Administration. 2. To study the key driver to good governance implement in the area of provincial Samutprakan province. The study found that Problems and obstacles importance of good governance into implement is Problems in the organization of the Provincial Administration, The province also a complete lack of organization, Strengthening of good governance Province, The patronage system, The selection bureaucratic, Awareness and understanding of good governance. And to provide the main propulsion good governance into practice the results required. Share power and empower to the Area. Establish Good Governance Code. The units responsible for the good governance of the government. Executives are role models. Create a system of social sanctions or boycott. Officials are encouraged to moral principles and the civil society came to participate in the operations of the public sector.