เรื่อง: การศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) เพื่อการปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อยโรงงาน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย รัตนะ สวามีชัย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรือง การศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning)
เพือการปรับเปลียนการปลูกข้าวในพื)นทีไม่เหมาะสมเป็ นอ้อยโรงงาน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นายรัตนะ สวามีชัย หลักสูตร วปอ. รุ่นที 57
การศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) เพือการปรับเปลียนการ
ปลูกข้าวในพื)นทีไม่เหมาะสมเป็ นอ้อยโรงงาน มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการเขต
เกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) เพือการปรับเปลียนการปลูกข้าวในพื)นทีไม่เหมาะสมเป็ นอ้อยโรงงานเพือกาหนด ํ
รูปแบบ วิธีการทีเหมาะสม และแนวทางการแกไขปัญหาในการดําเนินงานดังกล ้ ่าว และเพือเสนอแนะรูปแบบที
เหมาะสมในการบริ หารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) เพือการปรับเปลียนการปลูกข้าวในพื)นทีไม่
เหมาะสมเป็ นอ้อยโรงงาน โดยการวิจัยนี)เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีการออกแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างซึ งเป็ น
เจ้าหน้าทีผู้ปฏิบัติงานของสํานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด จํานวน 76 จังหวัด เพือศึกษาสภาพปัญหาการ
บริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) ในภาพรวม และจังหวัดทีมีการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ
(Zoning) เพือการปรับเปลียนการปลูกข้าวในพื)นทีไม่เหมาะสมเป็ นอ้อยโรงงาน จํานวน BC จังหวัด รวมทั)งการ
สัมภาษณ์เจ้าหน้าทีของหน่วยงานภายในสังกดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทีรับผิดชอบหลักในการขับเคลือ ั น
การบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) เพือการปรับเปลียนการปลูกข้าวในพื)นทีไม่เหมาะสมเป็ นอ้อย
โรงงาน ผลการศึกษาพบวา สภาพปัญหาในการขับเคลือนนโยบายทีสําคัญประกอบด้วย ก ่ ารทํางานร่วมกนของ ั
หลายภาคส่วนยังไม่บูรณาการเท่าทีควร การสังการจากส่วนราชการต้นสังกด การบริหารจัดการข้อมูลขาด ั
ประสิทธิภาพ การสือสารสร้างความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ แนวทางการปฏิบัติงานไม่ชัดเจน ระบบงบประมาณ
ไม่เอื)อต่อการบูรณาการ รวมทั)งความพร้อมของเจ้าหน้าทีทั)งในส่วนกลางและจังหวัด ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะ
แนวทางการพัฒนาใน B ระดับ ได้แก่ แนวทางระดับนโยบาย มุ่งเน้นนโยบายด้านลดต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะ
ต้นทุนด้านเครืองจักรกลทางการเกษตรเป็ นมาตรการจูงใจ แนวทางระดับการขับเคลือนนโยบาย ต้องเร่งพัฒนา
กลไกการขับเคลือนนโยบายส่วนกลางให้มีเอกภาพ พัฒนาระบบการบริ หารจัดการข้อมูลสารสนเทศด้าน
การเกษตรเชิงพื)นทีให้มีประสิทธิภาพ ผลักดันการพัฒนาโครงสร้างพื)นฐานเพือสนับสนุนการจัดการสินค้า
เกษตร พัฒนาและบูรณาการระบบฐานข้อมูลสินค้าเกษตรให้เป็ นเอกภาพ รวมทั)งการพัฒนาบุคลากรให้มีความ
พร้อมเพือรองรับการขับเคลือนนโยบายดังกล่าว และแนวทางระดับการปฏิบัติการในพื)นที โดยเร่งปรับปรุงการ
บริหารจัดการข้อมูลด้านการเกษตรของจังหวัดให้มีประสิทธิภาพ มีการประสานเครือข่ายการดําเนินงานในพื)นที
อย่างใกล้ชิด มีการเตรียมการเรืองช่องทางการสือสารสร้างความเข้าใจทีหลากหลายและเข้าถึงได้ง่าย มีการ
ตรวจสอบพื)นทีปลูกข้าวปัจจุบันกบพื ั )นทีเขตเหมาะสมในการผลิตข้าวอย่างถูกต้อง วิเคราะห์ความต้องการสินค้า
ข้าวและสินค้าอ้อยโรงงานของตลาดและโรงงานภายในและภายนอกจังหวัดให้ชัดเจน ร่วมมือกบภาคส ั ่วนที
เก
ียวข้องกาหนดและสือสารมาตรการส ํ ่งเสริ มและจูงใจให้เข้าถึงเกษตรกร เร่งดําเนินการส่งเสริ มและพัฒนา
เกษตรกรตามแผนทีวางไว้ รวมทั)งติดตามและประเมินผลการดําเนินงานอยางต ่ ่อเนือง
ก
abstract:
ABSTRACT
Title A Study of Problems in Agricultural Economic Zoning Management
for Switching Rice Growing in the Unsuitable Areas to Industrial
Sugarcane Growing
Field Economics
Name Mr.RatanaSawameechai Course NDC Class 57
The purposes of this study are to investigate the problems in agricultural
economic zoning management for switching rice growing in the unsuitable areas to
industrial sugarcane growing, to determine the appropriate patterns, methods and
guidelines for solving such problems, and to recommend the proper management of
agricultural economic zoning in order to switch rice growing in the unsuitable areas to
industrial sugarcane growing. The qualitative methods were used in this study. The
questionnaires were distributed to a sample of the operating officers working at the
Provincial Agriculture and Cooperatives Office from 76 provinces for switching rice
growing in the unsuitable areas to industrial sugarcane growing. Moreover, the
questionnaires were interviewed the officers in the agencies under the Ministry of
Agriculture and Cooperatives who were responsible for practically implementing the
agricultural economic zoning management for switching rice growing in the unsuitable
areas to industrial sugarcane growing. The results of this study indicated that the
significant problems for carrying out the policy lied in the following factors. First, the
cross-sector collaboration had not been integrated enough. Moreover, the commands
from the original affiliated agencies and the information management appeared
inefficient. The communication for gaining understanding of the principles of agroeconomic zoning management and its operating process and procedure was still unclear.
The budget system could not facilitate successful integration of operations. In addition,
the readiness of concerned government officers both in the central agencies and the
provincial units was also taken into account the researcher. The suggestions on the
development of 3 levels consist of policy guideline which aims to reduce
production costs. Especially for reducing agricultural machine was an incentive
measure. The concerned central agencies should accelerate and improve the central
policy mechanism into unity. The spatial data management system in agriculture should
be developed effectively. The agricultural infrastructure is also recommended to
develop to support the agricultural products management. Furthermore, the database
system for agricultural products must be developed and integrated into unity. To reach
the target successfully and effectively, the existing officers should be empowered and
trained to be constantly ready for the policy implementation. The guideline operating
in the area, the provincial agencies should improve their own operating mechanisms
and manage the provincial agricultural information. Operational connections and
networks in the area should be closely coordinated and formed. The local agencies
should prepare and establish effective channels to communicate the variety of
information to be easy to access and create accurate understanding. Additionally, the
rice production areas existing today and the areas which are suited for rice production
should be carefully investigated. The demand for rice products and the demand for industrial sugarcane products in current markets and factories both inside and outside
each province should be examined clearly. Furthermore, each provincial agency should
cooperate with other concerned sectors to determine the incentive measures and then
promote and communicate with the local farmers in an accessible way. The concerned
provincial agencies and units must accelerate to promote and develop the target famers
as planned; in addition, the agencies must keep following-up and evaluating the
operational results.