Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการบริหารงานด้านกำลังพลของกองบัญชาการกองทัพไทยตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี รัฐเดช จุลวุฒิ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาการบริหารงานดานกําลังพลของ กองบัญชาการกองทัพไทย ตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย พลอากาศตรี รัฐเดช จุลวุฒิ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57 1.การวิจัยเรื่อง “แนวทางการพัฒนาการบริหารงานดานกําลังพลของ กองบัญชาการ กองทัพไทย ตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี” มีวัตถุประสงคเพื่อ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็น ของกําลังพลเกี่ยวกับการบริหารงานดานกําลังพลของ กองบัญชาการกองทัพไทย ตามหลักการบริหาร กิจการบานเมืองที่ดี 2. เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารงานดานกําลังพลของ กองบัญชาการ กองทัพไทย ตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ กําลังพลของ กองบัญชาการกองทัพไทย ซึ่งประกอบดวย นายทหารชั้นสัญญาบัตร พ.ท.,น.ท. ถึง พ.อ.(พ), น.อ.(พ) จํานวน 277 คน สุมมาจากกําลังพลของ กองบัญชาการกองทัพไทย โดยใชสูตรการหาขนาดของกลุม ตัวอยางของ ยามาเน (Yamane) เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม มีความเชื่อมั่นเทากับ 0.7994 วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกตางคา เฉลี่ยรายคู โดยวิธีการทดสอบของฟชเชอร ผลการวิจัยครั้งนี้พบวา ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานดานกําลังพลของ กองบัญชาการกองทัพไทย ตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ภาพรวม 10 ดาน อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยมากไปนอยดังนี้ ดานหลักความเสมอภาค รองลงมา ดานหลักประสิทธิภาพ ดานหลักภาระรับผิดชอบ ดานหลักการมีสวนรวม ดานหลักประสิทธิผล ดานหลักนิติธรรม ดานหลักความโปรงใส ดานหลักการกระจายอํานาจ ดานหลักการตอบสนอง และดานหลักมุงเนนฉันทามติ ตามลําดับ ขอเสนอแนะที่ไดจากผลการวิจัยในครั้งนี้ คือ 1. ควรสงเสริมและพัฒนาความรู ความสามารถใหแกกําลังพล ของกองบัญชาการกองทัพไทย และสงเสริมใหกําลังพลทุกระดับเขามามีสวน รวมในการรับรู รวมคิด รวมทํา รวมตัดสินใจ และตรวจสอบการบริหารงานภายในกองบัญชาการ กองทัพไทย 2. เพื่อใหการบริหารงานดานกําลังพลของ กองบัญชาการกองทัพไทย ตามหลักการบริหาร กิจการบานเมืองที่ดีเกิดประสิทธิภาพ หนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดทําโครงการใหความรูเกี่ยวกับ หลักเกณฑการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี สําหรับกําลังพลในกองบัญชาการกองทัพไทย โดยจัดทํา เปนโครงการ เชน โครงการอบรม สัมมนา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น ดานการบริหาร กิจการบานเมืองที่ดี

abstract:

Abstract Topic Guidelines For Personnel Management Developing Of The Royal Thai Armed Forces Headquarters According To Thailand’s Good Governance Scheme Course Political Science Researcher Air Vice Marshall Rathadej Chullawut, National Defence College, Class 57 The research objectives of “Guidelines for Personnel Management Developing of the Royal Thai Armed Forces Headquarters according to Thailand’s Good Governance Scheme ” are as follows; 1) To study the opinion of the Royal Thai Armed Forces Headquarters (RTARF Hqs.) personnel to the Personnel Management under Thailand ‘s Good Governance Scheme(GGS) 2) To propose guidelines for Developing of Personnel Management for the RTARF Hqs. The Sample of this research is Personnel in RTARF Hqs., which comprised of 277 Commission Offices ranked from Lieutenant Colonel (LTC) to Colonel (COL) or equivalent. The Yamane sampling methods was utilized in this study to calculate a proper sample size. Questionnaire with level of confident = 0.7994 was a tool for gathering opinion as a data, then data was analyzed by SPSS program. Statistics used in this study consisted of Percentile, Average, Standard Deviation (SD), T-Test, One-way ANOVA, and the Fisher’s method for making post-hoc multiple comparisons. The results of this research showed that the opinion of the RTARF Hqs. personnel to the Personnel Management under Thailand ‘s GGS in all of 10 categories are in HIGH level, which can be arranged in descending order by the Average value as follows; Equality, Efficiency, Accountability, Participation, Effectiveness, Justice, Transparency, Decentralization, Responsibility, and unanimity Suggestions from the findings are as follows; 1) The motivation and Improving of Knowledge and Efficiency for all RTARF Hqs. personnel is a key to increase the level of participation in the RTARF’s Organization Managing, in order to improve the Internal transparency of Organization Management. 2) For the sake of Personnel 95 Management to be totally harmonized with the GGS, relevant organization ought to develop more projects that involved with the GGS, as such, all personnel to understand, learn, and share knowledge of the Good Governance, i.e. Good Governance Seminar, workshop, and exhibition projects.