เรื่อง: การปฏิวัติข้อมูล (Data Revolution) ในหน่วยงานภาครัฐ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว มาลี วงศาโรจน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การปฏิวัติขอมูลในหนวยงานภาครัฐ
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย นางสาวมาลีวงศาโรจน หลักสตูร วปอ. รุนที่57
ปจจุบันการจัดการขอมูล/สารสนเทศในหนวยงานของภาครัฐของประเทศไทยในภาพรวม เปนไป
ในลักษณะแบบตางคนตางทํา ตามภารกิจของแตละหนวยงานเอง ไมมีความเปนเอกภาพ ขาดมาตรฐานและการ
ควบคุมคุณภาพที่ดี สงผลใหไมสามารถบูรณาการขอมูล/สารสนเทศระหวางหนวยงานภาครัฐ เพื่อจัดทําเปน
ฐานขอมูลของประเทศเพื่อใชในการบริหารราชการได จากปญหาดังกลาว สงผลกระทบตอการขับเคลื่อนการ
พัฒนาประเทศตามนโยบายของรัฐบาล รวมทั้งประเด็นยุทธศาสตรเพื่อการปฏิรูปประเทศดวย นอกจากนี้
ขอมูล/สารสนเทศของหนวยงานภาครัฐ ยังถูกนําไปใชในการเปรียบเทียบระหวางประเทศอีกดวย การที่ขอมูล
ไมถูกตอง สมบูรณหรือไมทันเวลา ทําใหสงผลกระทบตอภาพลักษณและความมั่นคงของประเทศ รวมทั้งการ
สรางความไววางใจ ความนาเชื่อถือ ในการดําเนินการของภาครัฐตอประชาชนดวย ผูวิจัยในฐานะที่เคยเปน
ผูบริหารจัดการระบบขอมูลสถิติขนาดใหญของประเทศ มีความเกี่ยวของ และตองการเสนอแนะแนวทางในการ
ปฏิวัติขอมูลของหนวยงานภาครัฐ ที่จะเปนประโยชนในการนําไปปฏิบัติ จึงสนใจศึกษาเรื่องของการที่ปฏิวัติ
ขอมูลในหนวยงานภาครัฐเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและสนองตอความตองการใชขอมูลในปจจุบัน โดยมี
วัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการขอมูลของหนวยงานภาครัฐในปจจุบัน และ 2) เพื่อ
เสนอแนะแนวทางในการปฏิวัติขอมูลของหนวยงานภาครัฐ โดยการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดย
ศึกษาวิเคราะหสถานภาพการจัดการเรื่องขอมูลของหนวยงานภาครัฐ เปรียบเทียบกับแนวทางของตางประเทศ
และองคกรสากล เพื่อมุงสูการปฏิวัติขอมูลในหนวยงานภาครัฐ โดยมุงเนนไปที่การวิเคราะหและกําหนด
แนวทางที่ชัดเขนในภาพรวม และในบริบทของสากล รวมทั้งการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ ผูใชขอมูลที่สําคัญทั้ง
จากภาครัฐ ภาคเอกชน และกลุมประชาสังคม รวมทั้งผูที่มีบทบาทสําคัญในการดําเนินการเรื่องขอมูลของ
ภาครัฐ เพื่อใหไดแนวทางที่สามารถนําไปปฏิบัติไดจริง และเกิดประโยชนตอประเทศชาติ ผลการวิจัยพบวา 1)
การจัดการขอมูลของหนวยงานภาครัฐยังเปนแบบตางคนตางทํา 2)การพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารของหนวยงานภาครัฐ ยังเปนลักษณะตางคนตางพัฒนา 3) การพัฒนาขอมูล/สถิติ/สารสนเทศ เปนงานที่
ยากมีความซับซอน 4) การพัฒนาระบบขอมูล/สถิติ/สารสนเทศ จะตองตอบสนองตอความตองการใชงานของ
ผูใชงาน 5) ปรากฏพบวาในการบริหารจัดการขอมูลของภาครัฐที่เปนสากล มีหลักการปฏิบัติที่เปนแนวปฏิบัติ
ที่ดี และไดรับการยอมรับเปนสากลนั้น รวมทั้งมาตรฐานในดานตางๆ ทั้งดานขอมูลและดานเทคโนโลยี
สารสนเทศ 6) ผลจากการชี้วัดระดับการพัฒนาขอมูลเปด และรัฐบาลเปด ในระดับสากลอยูในระดับที่ต่ํา
สําหรับขอเสนอแนะในการปฏิวัติขอมูลในหนวยงานภาครัฐมีดังนี้ 1) สรางหลักสูตรการศึกษาที่ใหความรูเรื่อง
การใชขอมูล/สถิติขึ้นใหมในทุกระดับ 2) มีการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับเรื่องการบูรณาการขอมูลภาครัฐ
3) มีการจัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบระบบขอมูล PMOC เพื่อการบริหารงานของรัฐบาลโดยเฉพาะ 4) มีการ
ออกแบบสถาปตยกรรมดานสารสนเทศของประเทศ (Information Architecture) 5) เพิ่มตําแหนงผูบริหารดานข
สถิติและสารสนเทศ ในทุกหนวยงานของภาครัฐ 6) มีการจัดจําแนกประเภทขอมูลใหชัดเจนตามมิติของการใช
งาน 7) มีการจัดทําดัชนีชี้วัดหลักที่สําคัญเพื่อแสดงใหเห็นสภาพความเปนไปของภาวะเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดลอมของประเทศไทย 8) มีการรวบรวมติดตามดัชนีชีวัดขีดความสามารถประเทศโดยกําหนดใหมี
หนวยงานกลางที่รับผิดชอบที่ชัดเจน 9) มีหนวยงานที่ทําการวิจัยและพัฒนา
abstract:
ABSTRACT
Title Government Data Revolution
Field Politics
Name Ms. Malee Wongsaroje Course NDC Class 57
Data and Information are important assets for any organizations, including
governmental organization. Thailand is currently under revolution period. Data and
information play a crucial role in planning, implementing, monitoring and assessment
for a quality management cycle. However, the Government has experiencing some
problems of using data, such as in-consistency, no standard, or using stove-pipe
application, etc. These result in a poor supporting for decision making. Having been
working in an organization for producing and providing data and statistics for the
government, it is interesting to study how governmental organizations in Thailand
dealing with data and information within changing circumstances.
This study aims to study as-is procedures of data management by
governmental organization and to recommend Effective data management practices.
This study has shown results as follows: 1) governmental agencies were
implemented in a stove pipe manner 2) lack of information technological standards in
system development 3) data and statistics are sophisticated activities 4) data and
information requirements were dynamic 5) there were existing of best and good
practices at international level which can be adopted and 6) Open Data and Open
Government index of Thailand were quite low level.
Effective data management practices should include 1) promoting
statistical literacy in all level of education 2) amending related registration to
integrate governmental data 3) establish an agency to carry Prime Minister Operation
Center 4) designing Information Architecture 5) setting a Chief Statistical Information
Officer in all governmental agencies 6) classifying data by purpose 7) producing key
social and economic development indicators 8) compiling country competitiveness
indicators and 9) promoting research and development in statistical areas.