Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผู้ด้อยโอกาส หนึ่งในแนวทางลดความเหลิ่อมล้ำเพื่อความมั่นคงของชาติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย มานิตย์ วรรณวานิช
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผดู้อ้ยโอกาส หน่ึงในแนวทางลดความเหลื่อมล้า เพื่อความมนั่ คง ของชาติ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั นาย มานิตย์ วรรณวานิช หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57 ตลอดหลายสิบปี ที่ผ่านมา ประเทศไทยพยายามที่จะสร้างความมนั่ คงของชาติผ่าน ระบบเศรษฐกิจ โดยวัดจากรายได้ต่อหัวของประชาชน เพื่อบอกถึงความกินดีอยู่ดีของประชาชน ผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในหลายๆ ฉบับ จากการที่เรามุ่งเน้นการเติบโตทาง เศรษฐกิจ แต่มิได้มุ่งเน้นการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม ก็ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้า ในการถือ ครองทรัพยากรของผู้มีโอกาสทางเศรษฐกิจ ซ่ึงปัญหาเหล่าน้ีเป็นปัญหาที่กดักร่อนทา ลายชาติมา โดยตลอด หลายฝ่ายในหลายรัฐบาลตระหนกั ดีและพยายามแกไ้ขปัญหาความเหลื่อมล้า เหล่าน้ีผ่าน ทางมาตรการภาษีการกระจายอา นาจรัฐสู่ทอ้งถิ่น การดูแลระบบสวัสดิการ รวมถึงด้านการศึกษา การประกันสุขภาพ และเรื่องของที่อยู่อาศัยแต่หากเราพิจารณาลงไปในแนวลึกจะพบว่าหลาย โครงการเป็นเพียงการบรรเทาปัญหาไม่ไดแ้กไ้ขปัญหาอย่างยงัยงั่ ยืน เพราะเป็นมาตรการที่มุ่งทา ที่ ผลของความต้องการของประชาชนไม่ได้มุ่งแก้ไข งานวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาการเข้าถึงแหล่งทุนของผู้ด้อยโอกาสในส่วนของผู้ ต้องการประกอบอาชีพ เครื่องมือบริการทางด้านการเงินของสถาบันการเงิน และธนาคารในปัจจุบัน ว่าเป็ นอุปสรรคในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนอย่างไร ตลอดจนข้อเสนอแนะแนวทางในการปรัปปรุง เครื่องมือทางการเงิน และการจดั ต้งัหน่วยงาน 2 หน่วยงาน เพื่อลดทอนอุปสรรคในการเข้าถึงแหล่ง ทุน คือ 1. สถาบันแก้ปัญหาอาชีพ และฝึ กอาชีพส าหรับผู้ด้อยโอกาส 2. บรรษัทประกันความเสี่ยงสินเชื่อเพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส โดยมีบทสรุปโดยยอ่ ดงัน้ีปัญหาหลักของการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผู้ด้อยโอกาส มา จากผู้ด้อยโอกาสเป็ นผู้ที่มีฐานะยากจนขาดความรู้ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบ ประกอบกับมาตรฐาน การพิจารณาสินเชื่อในปัจจุบัน มุ่งเน้นเสริมสร้างส่งเสริมให้ผู้ที่มีฐานะทาง การเงินที่ดีต่อยอดความร ่ารวยข้ึนไป ในความคิดที่ว่าผู้มีฐานะทางการเงินดี ย่อมมีความเสี่ยงน้อย เพราะสถาบันการเงินและธนาคาร มีหน้าที่ต้องควบคุมดูแลความเสี่ยงในการปล่อยสินเชื่อไม่ให้เกิด ความเสียหายต่อผู้ฝากเงิน ดังน้ันมาตรฐานน้ีจึงเป็ นอุปสรรคต่อการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของ ผู้ด้อยโอกาส จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เหมาะสมกับการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของ ผู้ด้อยโอกาส

abstract:

ก Abstract Topic Financial Inclusion for the Underprivileged Population to Reduce Social Inequality as a Way to Improve National Security Subject Social Psycology Researcher Mr. Manit Wannawanit Program TNDC Class No. 57 In the past few decades, Thailand has gone through series of National Economic and Social Development Plans which aimed at improving the wellbeing of Thai citizens by increasing its per capita GDP in an attempt to develop its national security. However, there has not been enough emphasis on the wealth distribution among its population which led to larger and larger income inequality gap between the underprivileged and the privileged population. Every government realized its detrimental impacts on the nation and attempted to address the problems through many policies, such as, income taxation, decentralization of power, social security, education improvement, universal health care, access to housing etc. But with careful consideration, aforementioned policies are still incomprehensive and unsustainable as they tried to “ease” the pain of inequality rather than to “cure” the root causes of the pain. This research aimed to understand the financial accessibility of the underprivileged with entrepreneurial spirit and the existing financial instruments and services offered by formal financial institutions and to propose the guidelines to rationalize the financial services for better financial inclusion, the ability to access affordable financial services, which includes setting up of 2 separate government entities below: 1. Career Development and Reformation Institution for the Underprivileged 2. Credit Guarantee Corporation for the Underprivileged The problem of accessibility for formal financial services of the underprivileged population is not only because the lack of competencies and financial literacy but also structural barrier. With the current business model, the commercial banks can only serve those who are already well-off financially due to its excessive credit evaluation processes, need for collateral or at least the guarantor, if not both. Such model is unfitted for evaluating the creditworthiness of the underprivileged population who has minimal to none collateral, little formal financial records or financial documents. Therefore, the system must be revolutionized if it hopes to improve financial inclusion and extend its reach to the underprivileged Thais nationwide.