Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: นโยบายของไทยต่อแอฟริกาตามข้อริเริ่มไทย - แอฟริกา

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย มานพชัย วงศ์ภักดี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง นโยบายของไทยตอแอฟริกาตามขอริเร่มิไทย-แอฟริกา (Thai-Africa Initiative) ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย นายมานพชัย วงศภักดี หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗ เอกสารวิจัยฉบับนี้มุงศึกษานโยบายตางประเทศของไทยตอแอฟริกาตามขอริเริ่มไทย￾แอฟริกา (Thai-Africa Initiative) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเหมาะสมของการดําเนินการ ตามนโยบายตางประเทศดังกลาวเพื่อกระชับความสัมพันธกับประเทศในภูมิภาคแอฟริกา และเพื่อ ศึกษาวิเคราะหยุทธศาสตรของไทยตอแอฟริกา ตลอดจนกระบวนการ รูปแบบและลักษณะ และ บทบาทและโครงสรางของหนวยงานที่รับผิดชอบหลัก เพื่อนําไปสูการเสนอแนะแนวทางในการดําเนิน นโยบายตางประเทศของไทยตอแอฟริกา รวมทั้งการกําหนดนโยบายตางประเทศในภาพรวมใหมี ความเหมาะสมและตอบสนองตอผลประโยชนแหงชาติของไทยอยางเปนระบบและยั่งยืน ผูวิจัยไดเริ่มตนศึกษาทฤษฎีหรือแนวคิดดานความสัมพันธระหวางประเทศกระแสหลัก เพื่อนํามาใชวิเคราะหและตีความนโยบายตางประเทศของไทยและมาเลเซีย ไดแก ทฤษฎีสัจนิยม และทฤษฎีเสรีนิยมใหม จากนั้น ไดศึกษานโยบายตางประเทศของไทยตอแอฟริกา โดยแบงชวงเวลา ในการศกึษาออกเปน ๒ ชวง ชวงแรก คือป๒๕๓๐ – ๒๕๕๔ และชวงที่สอง คือป๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ และศึกษาขอริเริ่มไทย-แอฟริกาในแงของกระบวนการในการกําหนดนโยบาย รูปแบบและลักษณะ ของนโยบาย รวมทั้งบทบาทและโครงสรางของหนวยงานรับผิดชอบหลัก จากนั้น ไดเปรียบเทียบขอ ริเริ่มไทย-แอฟริกาของไทยกับการประชุมระหวางประเทศลังกาวีของมาเลเซีย เพื่อวิเคราะหจุดแข็ง และจุดออนของขอริเริ่มไทย-แอฟริกา และเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงนโยบายใหมีความ เหมาะสม ผลการวิจัยสรุปไดวา แมขอริเริ่มไทย-แอฟริกา จะเปนตัวอยางนโยบายตางประเทศของ ไทยในมิติใหมที่มีความนาสนใจ โดยมีเปาหมายเพื่อสรางความสัมพันธในเชิงหุนสวนกับแอฟริกาอยาง เปนระบบ อยางไรก็ตาม การดําเนินการที่ผานมาตองประสบกับปญหาและอุปสรรคหลายประการ เชน ปญหาการเมืองภายในประเทศของไทย การขาดยุทธศาสตรในการดําเนินการและการกําหนด เปาหมายในระยะยาว และการขาดการบูรณาการกับภาคสวนตาง ๆ อยางรอบดาน เปนตน ผูวิจัยจึง ไดเสนอแนวทางในการปฏิรูปนโยบายดังกลาว ทั้งในแงของกระบวนการ รูปแบบและลักษณะ และ บทบาทของหนวยงานรับผิดชอบหลัก เพื่อการปรับปรุงแกไขในโอกาสตอไป

abstract:

Abstract Title : Thailand’s Foreign Policy “Thai-Africa Initiative” Field : Politics Name : Mr. Manopchai Vongpakdi Course NDC Class 57 This research is focused on studying Thai Foreign Policy called “Thai-Africa Initiative”. The objectives of this research are to study the appropriateness of this policy in strengthening relations with countries in African continent, to study and analyze Thailand’s strategy towards Africa including procedure and substance of the policy, and role and structure of the organization having main responsibility, and to further propose scheme in implementing foreign policy “Thai-Africa Initiative” and Thailand’s foreign policy in general to be more proper and responsive to Thailand’s national interest systematically and sustainably. The researcher started by studying mainstream International Relations theory or idea to analyze foreign policy of Thailand and Malaysia that is Realism and Neo-Liberalism. Then studied “Thai-Africa Initiative” policy in terms of procedure, substance, and role and structure of the organization having main responsibility and compared Thailand’s foreign policy toward Africa divided to two era, 1987 – 2011, and 2012 – 2014. After that, compared “Thai-Africa Initiative” of Thailand and “Langkawi International Dialogue” of Malaysia to scrutinize strength and weakness of “Thai-Africa Initiative” policy and propose approach to reform the policy. The result of the research is that though “Thai-Africa Initiative” is an example of new and interesting policy with its aim to forge strategic partnership with Africa, its implementation faced lots of problems and obstacles such as Thailand’s domestic politics, a lack of strategy and target in the long run etc. So, the researcher propose the reformation of the policy in terms of procedure and substance of the policy, and role and structure of the organization having main responsibility for improvement in the next occasion.