เรื่อง: การปฏิรูปอาชีวศึกษาไทยสู่ประชาคมอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี มนัสวี บูรณพงศ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การปฏิรูปอาชีวศึกษาไทยสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พลเรือตรี มนัสวี บูรณพงศ์ หลักสูตร วปอ. รุ่น 57
การศึกษาวิจัย เรื่องการปฏิรูปอาชีวศึกษาไทยสู่ประชาคมอาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
ทฤษฎีและแนวคิดด้านการศึกษาระดับอาชีวศึกษา ศึกษาปัญหาการขาดแคลนแรงงานที่มีคุณภาพและไม่
เพียงพอต่อความต้องการของตลาดแรงงานกับการจัดการอาชีวศึกษา เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูป
อาชีวศึกษาไทยสู่ประชาคมอาเซียน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ การศึกษาทฤษฎี แนวคิดด้าน
การศึกษา และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลจากการศึกษาพบว่า การจัดการอาชีวศึกษาปัจจุบันยังประสบปัญหา
ในด้านการผลิตก าลังคนอาชีวศึกษาโดยรวมของประเทศ ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
ทั้งในด้านปริมาณและในด้านคุณภาพของแรงงาน ส่งผลให้ขาดก าลังแรงงาน ซึ่งถือได้ว่าเป็นปัจจัยส าคัญที่
จะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ส่วนด้าน
คุณภาพของบุคลากรอาชีวศึกษาที่เข้าสู่ตลาดแรงงานนั้น ยังขาดคุณลักษณะทั้งด้านความรู้และทักษะที่
จ าเป็นต่อการปฏิบัติงาน อันเป็นผลมากจาก หลักสูตรยังไม่ได้มีการปรับปรุงให้เป็นไปตามความต้องการ
ของตลาดแรงงาน ในด้านครูอาชีวศึกษายังมีจ านวนไม่เพียงพอ และยังขาดความรู้ ความช านาญในการ
ถ่ายทอดวิชาชีพให้กับนักเรียน กระบวนการเรียนการสอนที่ไม่เน้นให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนรู้การ
ปฏิบัติงานในสถานประกอบการสถานศึกษาและข้อจ ากัดในด้านงบประมาณที่ท าให้สถานศึกษาบางแห่ง
ขาดคุณภาพ ขาดเครื่องมือ เครื่องจักรในการเรียนปฏิบัติ ผลจากวิเคราะห์ข้อมูลสามารถเสนอแนวทางใน
การปฏิรูปอาชีวศึกษาไทยสู่ประชาคมอาเซียน โดยการพัฒนาใน 5 หัวข้อดังนี้ 1) พัฒนาคุณภาพการผลิต
ก าลังคนด้านอาชีวศึกษาโดยการเร่งยกระดับมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ ส ารวจความต้องการแรงงานจากทุก
ภาคส่วน เพื่อก าหนดสมรรถนะ และต าแหน่งงานที่ต้องการแล้วน ามาวางแผนในการจัดการอาชีวศึกษา
พัฒนาหลักสูตร และเครือข่ายการผลิตร่วมกับสถาบันอาชีวศึกษาของประเทศในกลุ่มอาเซียน 2) พัฒนา
ภาพลักษณ์และทัศนคติที่ดีต่อการเรียนอาชีวศึกษา โดยการประชาสัมพันธ์เชิงรุกและระยะยาว ปรับปรุง
หลักสูตรในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เพิ่มการแนะแนวในงานสายอาชีพ เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองได้
เห็นความส าคัญและความก้าวหน้าของผู้เรียนอาชีวศึกษา 3) พัฒนาการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
โดยการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยเป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงาน เพิ่มเนื้อหาวิชาเกี่ยวกับ
ประชาคมอาเซียน พัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และยกระดับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี4) การพัฒนา
ปริมาณและคุณภาพครู โดยการเพิ่มปริมาณและพัฒนาคุณภาพของครูที่มีอยู่ในปัจจุบันให้ทันต่อ
เทคโนโลยี และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนได้อย่างเป็นระบบ รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาที่ผลิตครู
ต้องปรับหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนให้มีช่วงฝึกงานในสถานประกอบการ และเกณฑ์การประเมิน
ของครูสายสามัญและสายอาชีพนั้นให้มีความแตกต่างกัน 5) พัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษา โดยการขยาย
พื้นที่ในการจัดสถานศึกษาให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ รัฐบาลควรให้การสนับสนุนงบประมาณ สถาน
ประกอบการควรสนับสนุนงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน และสร้างโรงเรียนอาชีวศึกษาต้นแบบ
เพื่อให้สถานศึกษาอาชีวศึกษามาดูงานรวมทั้งให้ค าแนะน าในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการ
สอน เพื่อไปเป็นแนวทางในการพัฒนาสถานศึกษาของตนเอง
abstract:
ABSTRACT
Title The Reform of Thai Vocational Education Towards ASEAN
Subject Society - Psychological
Author Rear Admiral Manatwee Booranapong
Course The National Defence College Class 57
The objective of this research was to study theories and the concept of vocational education
as well as the shortage of qualified workers, insufficient amount of workers to meet the demand in labor
market, and vocational education management in order to suggest approach to reform of Thai vocational
education towards ASEAN. The methodology of this study was qualitative research. The author studied
related education theories, concept and documents. The results of this study showed that management
of Thai vocational education nowadays encounters problems of producing sufficient vocational
manpower to meet the demand in labor market. Such problems are quantitative and qualitative. Now
labor market lacks manpower. Manpower is considered as important factor to enhance the
competitiveness of the nation, especially the steps towards the ASEAN Community. Moreover, vocational
education personnel still lack necessary knowledge and skills to perform work because the curriculum
has not been updated to meet the demand of the labor market. Vocational education system lacks
sufficient educators. Even educators lack professional knowledge and expertise in conveying knowledge to
students. The instruction process does not focus on providing students the opportunity to learn how to
work in educational establishments. Budget restriction is another problem that leads to shortage of
educational quality, tools, and machines. The results of data analysis could suggest approach to reform of
Thai vocational education towards ASEAN through five aspects of development: 1) the development of
production quality of manpower by raising the standard vocational qualification, exploring labor demand
from all sectors to determine required performance and position and make planning to manage
vocational education, curriculum develop and manpower production network with vocational institutions
in ASEAN countries, 2) the development of good images and attitudes towards vocational education
through proactive and long term public relations, curriculum improvement at secondary education,
promotion of vocational guidance so that students and parents will pay their attention to the importance
and advancement of vocational education, 3) the development of vocational education management by
developing the modern curriculum to meet the demand of the labor market, adding ASEAN related
subjects, developing international programs and raising the bilateral education system,4) the development
of the appropriate and sufficient quantity and quality of educators by improving the quality of existing
educators to keep up with technology and their ability to pass on knowledge to students in a systematic
way. Higher education institutions need to adapt the instruction curriculum by providing internship period
in the real workplace. General and vocational educators should be evaluated based on different criteria
and 5) the development of vocational education institutions by expanding institutional area to cover all
areas. The government should support the budget. The enterprises should support budget and build a
model vocational education institution. Therefore, other institutions can observe the practices of a model
institution and learn suggestions about education management in order to apply guidelines to selfdevelopment.