Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการปฏิรูปการศึกษาระดับประถมศึกษา

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, เรืออากาศเอก หญิง ภาวดี ศึกษากิจ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการปฏิรูปการศึกษาระดับประถมศึกษา ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั เรืออากาศเอกหญิง ภาวดี ศึกษากิจ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๗ การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยมีมาแล้ว ๔ คร้ัง ภาครัฐได้ทุ่มงบประมาณด้าน การศึกษาเพิ่มข้ึนทุกปี แต่ผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นถึงความล้มเหลวโดย สิ้นเชิงจากผลการจัดอันดับด้านการศึกษาไทยในเวทีโลกและอาเซียน ปี ๒๕๕๖ โดยเวิลด์อีโคโน มิคฟอรั่ม (World Economic Forum : WEF) ด้านความสามารถในการแข่งขันนานาชาติ (Global Competiveness Index:GCI)ระดับประถมศึกษาไทยอยู่อันดับที่ ๘๑ ของโลก และ อันดับ ๗ ในอาเซียน นอกจากยังปัญหาด้านศีลธรรม จริยธรรมตามมาอีกมากมายในหมู่เยาวชน การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ เพื่อ ๑.ศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาและนโยบาย หลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนการสอนระดับประถมศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกัราช ๒๕๕๑ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศที่มีการจัดอันดับการศึกษาอยู่ใน ระดับต้นของโลก ๒. เพื่อศึกษาหลักการและแนวคิดค่านิยมของประเทศไทย ๓. เพื่อเสนอแนว ทางการปฏิรูปการศึกษาระดับประถมศึกษาของประเทศไทย โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ และ เชิงพรรณนา ท าการรวบรวมข้อมูล ๓ วิธี ได้แก่ การศึกษาเอกสาร การรวบรวมข้อมูลจาก แหล่งขอ้มลู ที่เกี่ยวขอ้งกบัการวิจยัท้งัในประเทศและต่างประเทศ การวิเคราะห์เปรียบเทียบจุดแข็ง จุดอ่อนของระบบการศึกษาจากแหล่งขอ้มลู สารสนเทศท้งัในและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่าการก าหนดนโยบายการศึกษาไม่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ เพื่อความยงั่ ยืน กระแสโลกาภิวัตน์ การเปิ ด AEC และบริบทสังคมไทย การก าหนดวิชาพ้ืนฐาน ควรก าหนดเฉพาะวิชาที่จ าเป็ นต่อการพัฒนาประเทศ จัดระบบการศึกษาที่มีความยืดหยุ่น (Flexible)ตามความถนัดของผูเ้รียนต้ังแต่ระดับประถมศึกษา ส่วนคุณลักษณะที่ต้องการให้ใช้ กิจกรรมเสริมหลักสูตรนอกห้องเรียนบูรณาการเข้ากับชีวิตประจ าวัน ดึงครอบครัว ชุมชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ มีการปฏิรูปคุณภาพครูผู้สอนโดยเน้นเรื่องทักษะการสอน ในด้าน เทคนิคการสอนแบบบูรณาการ และปรับเกณฑ์การประเมินต าแหน่งวิชาโดยให้น้ าหนักกบัการ พฒั นาเทคนิคการสอนที่เหมาะกบั บริบทแต่ละทอ้งถิ่น และการสร้างสื่อการสอน

abstract:

ABSTRACT Title Reformation of thai primary school system Field Social-Psychology Name Flt.Lt Pavadee Soucksakit Course NDC Class 57 Despite annual increase in expenditure on education over the past four years, Thailand is still ranked 84th on the Global Competitiveness Index (GCI) and 7th among the ASEAN countries, according to the recent World Economic Forum(WEC). These rather disappointing results indicate that the goal on improving Thai educational system, using huge amount of budgetary expenditure, is totally unaccomplished. Furthermore, various problems arisen from low morality among Thai youth are still obviously persistent. There are three main objectives in this research. The first objective is to explore into the Thai Education Acts 2008 and their formulated policies that regulate the present Thai educational system on the elementary schools. Comparison of various scaled items of the Thai students with those from the top ranking countries is employed to further gain better understanding of the underlying problems. The second aim is to explore into the Thai principles, paradigms, beliefs, and popularities of the Thai people pertaining to their present educational system. Finally, this study aims to establish and render ways to reform and improve the Thai elementary school system. In this research, qualitative and descriptive analysis techniques are utilized. Strength and weakness analysis is employed using various relevant sources of information including statistics, documents, literatures, studies, and researches, both on domestically and internationally published. This research has found that the present policies governing Thai educational system are not consistent or in-line with country sustainable development schemes, globalization, upcoming AEC, and the Thai social context. Basic required courses and subjects for elementary school should be set according to the country’s development schemes, yet, flexible enough to facilitate for variations in each child ability and proficiency. Supplementary skills and knowledge should be provided according students’ day-to-day context, and with the integration of family and community contributions. Teacher’s skills should be qualitatively be improved by promoting the use of integrative teaching techniques. Evaluations of teachers’ performances should be emphasized on their ability to adapt their teaching skills to the local environments and with the use of the right teaching tools.