เรื่อง: การบริหารจัดการกากของเสียอันตราย โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม กรณีศึกษา : เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ภารดี จงสุขธนามณี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
- ก - บทคัดย่อ
เรือง การบริหารจัดการกากของเสียอันตราย โดยใช้กระบวนการมีส่ วนร่วมของภาค
ประชาสังคม กรณีศึกษา: เขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นางภารดีจงสุขธนามณี หลักสูตร วปอ. รุ่นที๕๗
การบริหารจัดการกากของเสียอันตราย โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชา
สังคม กรณีศึกษา: เขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง มีวัตถุประสงค์เพือรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
พืนฐานของชุมชนท้องถินในเขตควบคุมมลพิษ และเสนอแนวทางในการบริหารจัดการกากของเสีย
อันตรายฯโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม และขอบเขตของการวิจัยกําหนดให้
กิจกรรมการดําเนินการควบคู่ไปกับการสอบถามและสัมภาษณ์เชิงลึกตามกลุ่มเป้ าหมายต่างๆ โดย
การวิจัยครังนีเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพมีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลพืนฐานของชุมชนท้องถิน
ในเขตควบคุมมลพิษ การรับฟังความคิดเห็นจากภาคประชาสังคมโดยใช้การสัมภาษณ์เจาะลึก และ
สัมภาษณ์ผ่านแบบสอบถาม และการรับฟังข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการของเสียอันตราย
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างทีได้รับความรู้ด้านการจัดการของเสียอันตรายมีพียง
ร้อยละ ๒๓.๐๘ และได้รับโดยตรงจากกระทรวงอุตสาหกรรม (ร้อยละ ๓๘.๔๖) ในประเด็นการ
ได้รับความรู้ทีเป็ นประโยชน์แต่ไม่สามารถดําเนินการจัดการของเสียอันตรายได้ถูกต้องตามหลัก
วิชาการเพราะมีหลายปัจจัยทีเกียวข้องทําให้การจัดการไม่ประสบผลสําเร็จ (ร้อยละ ๒๖.๙๒)แต่มี
การคัดแยกของเสียอันตรายออกจากขยะทัวไปและจัดทําเป็ นทีเก็บและคัดแยกของเสียอันตราย
ข้อเสนอแนะทีได้จากการวิจัยครังนี ได้แก่ การเร่งรณรงค์และสร้างจิตสํานึกให้กับ
ประชาชนท้องถินและผู้ประกอบการให้ตระหนักถึงปัญหาและอันตรายจากกากของเสียอันตราย
และสนับสนุนให้แยกกากของเสียอันตรายออกจากขยะชุมชนเพิมขึน สนับสนุนให้ตังเป็ นองค์การ
มหาชนเพือตรวจสอบและเฝ้ าระวังปริมาณกากของเสียอันตราย การสร้างแรงจูงใจหรือมาตรการ
ตอบแทนให้กับผู้ประกอบการทียินดีทีจะจ่ายเงินในการจัดการกากของเสียอันตราย หรือจัดหาพืนที
เพือให้ภาคเอกชนเข้ามาสร้างเป็ นเตาเผากากของเสี ยอันตรายทีมีประสิ ทธิภาพสูง การเพิม
บทลงโทษแก่ผู้ไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนดควบคุมกากของเสียอันตราย และศึกษาวิจัยเพิมเติมเพือ
พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการลดปริมาณกากของเสียอันตรายโดยนํากากของเสียอันตรายไปใช้
ประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น ผลิตไฟฟ้ าและปรับสภาพกากของเสียให้กลายเป็ นพลังงานทดแทน ฯลฯ
abstract:
Abstract
Title Hazardous Waste Management by People Participations Process Case
Study: Pollution Control Areas of Rayong Province
Field Science and Technology
Name Mrs.Paradee Chongsuktanamanee Course NDC Class 57
The purposes of the study on hazardous waste management by people participations
process case study: pollution control Areas of Rayong province are collecting and analyzing
community data and introducing social participation process for hazardous wastes management. The study process will be done in paralleled with questionaires survey and in-depth interviews
through the target sampling groups. The work is emphasized on quality research by gathering and
analyzing fundamental data of communities in the pollution controlled area as well as public
hearing their suggestions and recommendations in hazardous waste management will be launched
by questionaire interviews and in-depth interviews.
The results are shown that amount of samplings those who has hazardous waste
management knowledge of 23.08% and who has received directly their knowledge from the
Ministry of Industrial of 38.46%. Despite the knowledge they had but cannot practice through the
sanitary disposal system, concerning to many factors and causes failure in management, is 26.92%.
Suggestion those achieving from the research are (i) more campaigning and
establishing on self; (ii) alertness among the locals and enterpreneurs to the problems and
dangerous of waste hazardous, more supporting on waste separation of hazardous waste in
community wastes; (iii) promoting on public organization establishment for waste hazardous
watch and inspections; (iv) establishing-motivations or compensation regulations for enterpreneurs
those willing paying for hazardous waste management or providing lands for private sectors to
construct high efficiency incinerators for hazardous waste, (v) increasing punishment regulators
for disobedieants and increasing studies and (vi) researches for new technology development to
reduce hazardous waste and creating new useful productions, such as, for electricity generating
and refuse derived fuel etc.