Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาการนำนโยบายด้านพลังงานทดแทนไปปฏิบัติ เพื่อใช้เป็นทางเลือกในอนาคตของประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ภาคิน สมมิตร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง การศึกษาการนํานโยบายด้านพลังงานทดแทนไปปฏิบัติ เพือใช้เป็ น ทางเลือกในอนาคตของประเทศไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นายภาคิน สมมิตร หลักสูตร วปอ. รุ่นที การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์เพือ ) เพือศึกษาปัญหาและอุปสรรคการนํานโยบายด้าน การพัฒนาพลังงานทดแทนไปปฏิบัติ 2) เพือศึกษาปัจจัยทีมีผลต่อความสําเร็จในการนํานโยบาย ด้านการพัฒนาพลังงานทดแทนไปปฏิบัติและ 3) เพือเสนอแนวทางการนํานโยบายด้านการพัฒนา พลังงานทดแทนไปปฏิบัติ การวิจัยนีเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยได้รวบรวมข้อมูลและงานวิจัยด้านพลังงาน ทดแทน และสัมภาษณ์เชิงลึกจากบุคลากรในหน่วยงานทีเกียวข้องกับพลังงานทดแทน จํานวน คน ผลการวิจัยพบว่า ประเทศไทยมีการส่งเสริมการโครงการการใช้พลังงานทดแทนมา อย่างต่อเนือง นับจากรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เป็ นนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. ) จนมาถึง รัฐบาลของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็ นนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. ) ก็ยังคงส่งเสริมสนับสนุน ดําเนินโครงการพลังงานทดแทน ปัญหาและอุปสรรคสําคัญในการดําเนินนโยบายด้านพลังงาน สามารถแยกเป็ น ด้าน ได้แก่ มิติด้านความมันคง มิติด้านสาธารณสุข มิติด้านสังคม และมิติด้าน เศรษฐกิจ ซึงในภาพรวมพบว่าปัญหาและอุปสรรคทีสําคัญ คือ การกําหนดนโยบายพลังงาน ทดแทนควรเป็ นไปอย่างต่อเนืองและชัดเจน ส่วนปัจจัยทีส่งผลต่อความสําเร็จในการดําเนิน นโยบายพลังงาน ได้แก่ นโยบายและแผนพลังงานทดแทน ทรัพยากรและผู้ปฏิบัติงาน ปัจจัย แวดล้อมระดับโลก ความเชือมโยงกับภาคเศรษฐกิจอืน การประชาสัมพันธ์ด้านพลังงานทดแทน และการประสานงาน ซึงสาเหตุสําคัญทีกระทบต่อผลสําเร็จในนโยบายด้านพลังงานทดแทน ได้แก่ การขาดการวางแผนระยะยาวในด้านนโยบายของไทยเพือเป็ นแนวทางให้แก่ภาคเอกชนในการ ปรับตัว และการไม่ให้ความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทีจะนํามาสนับสนุนให้มีการใช้ พลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางการแก้ไขเพือให้การดําเนินนโยบายพลังงานทดแทน ประสบความสําเร็จจําเป็ นต้องมีการปรับปรุงด้านนโยบายให้มีความชัดเจน ต้องมีการพัฒนา บุคลากรและเทคโนโลยี สนับสนุนให้เกิดการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมทีเกียวข้องต่างๆ ให้สอดคล้องกับแนวทางนโยบายด้านพลังงานทดแทนทีวางไว้ โดยทุกฝ่ ายจะต้องร่วมมือกัน อย่างจริงจัง

abstract:

ABSTRACT Title Policy of Alternative Energy in Practice : An Alternative Future of Thailand Field Science and Tecnology Name Mr. Parkin Sommit Course NDC Class 57 The objectives of this study were (1) to study problems and obstacles to energy policies implementation; (2) to analyze factors affecting energy policies implementation. This research used qualitative technique for collect data, document reviews and In-depth interview 3 persons who are involved with renewable energy. The results showed that the renewable energy policies of Thailand are continually promoted and drive as a strategy. Since the government of Mr. Samak Sundaravej, Prime Minister of Thailand (2551) until the arrival of the government. Gen. Prayut Chan-O-Cha as Prime Minister (2557) have also supported projects promoting renewable energy. Problems and obstacles in the implementation of energy policies can be separated into four part; Energy security, Public health, Social and Economic part. The major problems and obstacles to energy policies implementation was due to the discontinuity and obscurity of the policies. Success factors in energy policies implementation were content of policies, resources and operators, global factors, linkage with other economic sectors, promote renewable energy and coordination between public and private sectors. The key contributor to the success of renewable energy policies, including the lack of a long-term plan to guide the policies of Thailand to the private sector in adaptation. And not to focus on the research and development of technology will be encouraged to use renewable energy efficiently. Solutions to ensure the implementation of renewable energy policies need to be achieved to improve the policy is clear. The need to develop human resources and technology. Support for research and development related. In accordance with the guidelines laid renewable energy policies. All parties must cooperate seriously.