Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ระบบประกันสังคมกับการคุ้มครองแรงงานนอกระบบ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว ดวงพร พรพิทักษ์พันธุ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง ระบบประกันสังคมกับการคุ้มครองแรงงานนอกระบบ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั นางสาวดวงพร พรพทิักษ ์ พนัธ ์ุหลักสูตรวปอ. รุ่นที่56 ประเทศไทยมีจ ำนวนประชำกร 65 ล้ำนคน โดยเป็ นประชำกรที่อยใู่ นวยัทำ งำน39 ล้ำนคน ใน จำ นวนน้ีจำ แนกเป็ นแรงงำนในระบบ15 ล้ำนคน (โดยอยใู่ นระบบประกนั สังคม12 ล้ำนคน) และแรงงำน นอกระบบ 24 ลำ ้ นคนผใู้ ชแ ้ รงงำนนอกระบบน้ีส่วนใหญ่ยงัไม่มีหลกัประกนัควำมมนั่ คงหรือสวสัดิกำร ควำมช่วยเหลือยำมที่ตอ ้ งขำดรำยไดเ ้ นื่องจำกประสบอนั ตรำยหรือเจบ ็ ป่วยรวมท้งัเงินที่ใชใ้ นกำรยงัชีพเมื่อ เขำ ้สู่วยัชรำกำรวิจยัน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษำวิเครำะห์สภำพปัญหำกำรดำ เนินกำรรวมท้งัควำมตอ ้ งกำร เขำ ้สู่ระบบประกันสังคมและจดัทำ ขอ ้ เสนอแนวทำงกำรบริหำรกองทุนประกันสังคมเพื่อพฒั นำสิทธิ ประโยชน์ที่เหมำะสมสำ หรับกลุ่มผใู้ ชแ ้ รงงำนนอกระบบโดยกำ หนดขอบเขตของกำรวิจยัเป็ นประชำกรวยั ท ำงำนที่ประกอบอำชีพอิสระและไม่อยใู่ นระบบแรงงำนตำมกฎหมำยแรงงำนดำ เนินกำรวิจยัเชิงคุณภำพ โดยอำศยัขอ ้ มูลทุติยภมู ิและเอกสำรงำนวิจยัตำ่งๆจำกหน่วยงำนที่เกี่ยวขอ ้ งผลกำรวิจัยท ำให้ทรำบถึงควำม ตอ ้ งกำรดำ ้ นประกนั สังคมของกลุ่มประชำกรแรงงำนนอกระบบไดแ ้ นวทำงและรูปแบบสิทธิประโยชน์ที่ เหมำะสมกบัเสถียรภำพของกองทุนขอ ้ เสนอแนะประกอบดว ้ ย ทบทวนปรับแกร ู้ปแบบกำรจ่ำยเงินสมทบ และสิทธิประโยชน์ของผปู้ ระกนั ตนที่มิใช่ลูกจำ ้ ง(ผปู้ ระกนั ตนมำตรำ40) โดยใช้เส้นควำมยำกจนเฉลี่ยมำ เป็ นฐำนค่ำจ ้ ำงในกำรคำ นวณเงินสมทบและเงินบำ นำญและรัฐบำลตอ ้ งสมทบเงินเขำ ้ กองทุนในอัตรำ เดียวกนั ผปู้ ระกนั ตนมำตรำ40 ตอ ้ งไดร ้ับอตัรำบำ นำญเท่ำกบัผูป้ ระกนั ตนภำคบงัคบั ในระยะเวลำที่ตอ ้ ง ส่งเงินสมทบเท่ำกนัจะทำ ใหเ ้ งินบำ นำญรำยเดือนสูงกวำ่อตัรำของเบ้ียยงัชีพสูงสุด และยังคงสิทธิในกำร รับเงินเบ้ียยงัชีพรูปแบบน้ีจะทำ ใหผ ้ ปู้ ระกนั ตนมำตรำ40 เมื่อสิ้นสภำพกำรเป็ นผูป้ ระกนั ตนแลว ้ มีรำยได ้ รวมกนัใกลเ ้ คียงกบัเส้ นควำมยำกจนเฉลี่ยซ่ึงน่ำจะเพียงพอแก่กำรยงัชีพไดอ ้ ยำ่งมีศกัด์ิศรีควำมเป็ นมนุษย์ ใชส้ื่อประชำสัมพนัธ์ที่มีศกัยภำพสูงเขำ ้ ถึงกลุ่มเป้ ำหมำยขนำดใหญ่ไดใ้ นเวลำอนั ส้ันมีควำมน่ำเชื่อถือใน กำรน ำเสนอสิทธิประโยชน์ใหก ้ ลุ่มผใู้ ชแ ้ รงงำนนอกระบบยอมรับและคลอ ้ ยตำมสำมำรถสร ้ ำงกระแสให ้ กลุ่มผใู้ ชแ ้ รงงำนนอกระบบเห ็ นคุณคำ่และประโยชน์ที่ไดร ้ับเพื่อจะไดส้ มคัรใจเขำ ้ เป็ นผปู้ ระกนั ตนมำตรำ 40 เพิ่มข้ึนทำ ใหก ้ องทุนมีเสถียรภำพในกำรสร ้ ำงหลกัประกนัควำมมนั่ คงในกำรดำ เนินชีวิตให ้ กบักลุ่ม ผใู้ ชแ ้ รงงำนนอกระบบผปู้ ระกอบอำชีพอิสระไดอ ้ ยำ่งยงั่ยนื

abstract:

Abstract Title Social Security Fund for Workers in the Informal Sector Field Social - Psychology Name Miss Duangporn Pornpitakpan Course NDC Class 56 Thailand has a population of 65 million people, 39 million of which are of working age. Of these, 15 million people are in the formal sector (12 million of these 15 million are subscribers to the national social security system) while 24 million people are in the informal sector. The majority of workers in the informal sector do not have any security or welfare benefits when they lack earnings during periods of injury or illness. They are not protected by old-age compensation payments when they become old either. The objective of this research is to analyze the operational problems of the social security system and the need for social security programs among workers in the informer sector, as well as to provide suggestions for managing the social security fund for the proper benefits of this group of workers. The study targets freelancers and workers outside the labor laws. It utilizes qualitative research methods based on secondary data and research papers from relevant authorities. The findings reveal the social security needs of workers in the informer sector and the forms of benefits appropriate for the stability of the social security fund. The following are suggested. Revise contribution payments and pension benefits for the insured persons who are not employees (subscribers of Article 40) as these should be calculated based on the average poverty line and the government shall contribute the same rate to the fund. Article 40 subscribers must get the same pension package as compulsorily insured persons. If the period of contribution is the same, the monthly pension will be higher than the maximum elderly allowances and Article 40 subscribers are still entitled to receive elderly allowances. This form of insurance will allow Article 40 subscribers to have total income near the average poverty line which should enable them to live with dignity after their subscription date expires. Public relations work via more effective and credible media able to reach large target groups in a short time should be used to convince them of the benefits of subscription to the social security fund. This will inspire more workers in the informal sector to recognize the advantage of being an Article 40 insured person in the Social Security Fund and thus willing to subscribe to the scheme to secure a sustainable life after retirement.