เรื่อง: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนกับความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พูลสิริ ธรรมสโรช
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนกับความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย นายพูลสิริ ธรรมสโรช หลักสูตร วปอ. รุนที่57
การพัฒนาพลังงานทดแทนเปนประโยชนโดยตรงตอความมั่นคงดานพลังงานของ
ประเทศไทย เปนการพึ่งพาตนเองดานพลังงานมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีการพัฒนาแหลงพลังงาน
ทดแทนภายในประเทศมาใชใหเต็มศักยภาพ เพื่อนําไปสูการลดการพี่งพาพลังงานจากตางประเทศ
การใชพลังงานทดแทนในประเทศไทยมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นดวยนโยบายการสนับสนุนจากภาครัฐบาล
ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ พลังงานทดแทนยังมีบทบาท
สําคัญในการอนุรักษสิ่งแวดลอมและชวยลดภาวะโลกรอนอีกทางหนึ่งดวย งานวิจัยนี้ไดทําการศึกษา
สถานการณพลังงาน การผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน นโยบายการสงเสริมการผลิตไฟฟาจาก
พลังงานทดแทนทั้งของไทยและตางประเทศ รวมถึงแผนการพัฒนาพลังงานดานตางๆ ของภาครัฐ
เพื่อทําการวิเคราะหปจจัยขับเคลื่อนความมั่นคงดานพลังงาน บริบทแวดลอมที่สงผลกระทบตอการ
พัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทย ปญหาอุปสรรคในการสนับสนุนการผลิตไฟฟาจากพลังงาน
ทดแทน เพื่อเสนอแนะแนวทางการสนับสนุนการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนและการบริหารจัด
การพลังงานใหเพียงพอกับความตองการใชงาน เพื่อใหเกิดการใชพลังงานอยางประหยัดและมี
ประสิทธิภาพ เชน นโยบายการสนับสนุนจากภาครัฐตองมีความชัดเจน ตอเนื่อง โปรงใสและเปน
ธรรมกับทุกภาคสวน ทั้งในสวนของนโยบายและภาคปฏิบัติ รวมถึงการศึกษาวิจัยและพัฒนา
เทคโนโลยีตองมีความสอดคลองเหมาะสมกับบริบทแวดลอมของประเทศไทย เปนตน
ผลจากการวิเคราะหปจจัยขับเคลื่อน บริบทแวดลอมและปญหาอุปสรรคในการ
สนับสนุนการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนที่ผานมา นอกจากจะไดแนวทางการสนับสนุนเพื่อใหการ
พัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทยประสบผลสําเร็จแลว ยังสามารถนํามาตราการการสงเสริมการ
ผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนที่ตางประเทศใชอยูมาประยุกตใชกับประเทศไทยไดดวย เชน
มาตราการสงเสริมการผลิตพลังงานทดแทนดวยการประกวดราคา มาตราการ Renewable
Portfolio Standard (RPS) มาตราการ Demand Response (DR) เปนตน นอกจากนี้ผูวิจัยยังไดเสนอแนะการพัฒนาพลังงานทดแทนดานตางๆ เชน ดานนโยบาย ดานการพัฒนาการผลิตไฟฟาจาก
พลังงานทดแทน ดานการพัฒนาระบบไฟฟาเพื่อรองรับการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน และ
แนวทางการพัฒนาการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนที่เหมาะสมสําหรับประเทศไทย เพื่อใหการ
พัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทยเปนไปอยางยั่งยืนและบรรลุผลสําเร็จไดในอนาคต
abstract:
ABSTRACT
Title Power generation from renewable energy and energy public security
Field Science and Technology
Name Poonsiri Dharmasaroj Course NDC Class 57
Energy is a resource that play an important role for living. Electrical energy
requirements and power demand are increasing ahead of supply. It is also now widely recognized
that the fossil fuels (i.e., coal, petroleum and natural gas) being used for generating of electrical
energy and may not be either sufficient or suitable to keep pace with ever increasing demand of
the electrical energy of the world.
The severe energy crisis has forced the world to develop new and alternative
methods of power generation. Renewable energy has the potential to play an important role in
providing energy with sustainability and security. Renewable energy resources are on the world
agenda either because of security of energy supply or due to environmental reasons.
This study focus on current world and Thailand energy supply situation, including
power generation from renewable energy as well. The objective of research is aim to recommend
a method in order to promote power generation from renewable energy in an adequate and
sustainable perspective. The scope of research including the analysis of the driver factor, the
barrier to development and the future tendency. The methodology of research consist of energy
data collection, policies related and energy development plan. The result and recommendation of
research have been developed to give a suggestion for promoting power generation from
renewable energy in Thailand in an effectiveness and sustainable development way.