Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาการรับรู้การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี การจัดสรรสวัสดิการที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากร กรณีศึกษากองทัพภาคที่ 1

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี พิษณุ บุญรักษา
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ การศึกษาเรื่อง “การรับรูการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี การจัดสรรสวัสดิการ ที่สงผลตอและคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากร : กรณีศึกษากองทัพภาคที่ 1” เปนการวิจัย เชิงสํารวจ มีวัตถุประสงคเพื่อการศึกษาการรับรูการบริหารจัดการบานเมืองที่ดีการจัดสรรสวัสดิการ ที่สงผลตอและคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรกองทัพภาคที่ 1 และเพื่อสรางสมการทํานาย คุณภาพชีวิตการทํางานโดยใชการรับรูการบริหารจัดการบานเมืองที่ดีและการจัดสรรสวัสดิการเปนตัว แปรพยากรณกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนบุคลากรระดับชั้นสัญญาบัตร ชั้นประทวน และ ต่ํากวาชั้นประทวน ของกองทัพภาคที่ 1 จํานวน 401 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถาม ซึ่งเปน 4 สวน ไดแก แบบสอบถามขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามวัดการรับรู การบริหารจัดการบานเมืองที่ดี จํานวน 18 ขอ มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.961 แบบสอบถามวัดการ จัดสรรสวัสดิการ จํานวน 25 ขอ มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.945 และแบบสอบถามวัดคุณภาพชีวิต การทํางาน จํานวน 24 ขอ มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.881 สถิติที่ใชในการวิเคราะหประกอบดวย คาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงความถี่ คารอยละ การวิเคราะหความ แปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาสรุปได ดังนี้ 1. บุคลากรทุกระดับชั้นของกองทัพภาคที่1 มีการรับรูการบริหารจัดการบานเมืองที่ ดี โดยรวมในระดับมาก และรายดานทั้ง 5 ดาน ไดแก ดานหลักนิติธรรม ดานหลักคุณธรรม ดานหลัก ความโปรงใส ดานหลักความมีสวนรวม ดานหลักความ และดานหลักความคุมคา ในภาพรวมอยูใน ระดับมากเชนกัน 2. บุคลากรทุกระดับชั้นของกองทัพภาคที่ 1 มีการรับรูการจัดสรรสวัสดิการโดยรวม ในระดับมาก และรายดานทั้ง 2 ดาน ไดแก ดานสวัสดิการขาราชการที่รัฐจัดใหและดานสวัสดิการ ภายในกองทัพบก ในภาพรวมอยูในระดับมากเชนกัน 3. บุคลากรทุกระดับชั้นของกองทัพภาคที่ 1 มีการรับรูคุณภาพชีวิตการทํางาน โดยรวมในระดับมาก และรายดานทั้ง 8 ดาน ไดแก ดานผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ ดาน สภาพที่ทํางานที่ปลอดภัยและสงเสริมสุขภาพ ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน ดาน ความกาวหนาและความมั่นคงในงาน ดานบูรณาการทางสังคม ดานธรรมนูญในองคการ ดานความ สมดุลในการดําเนินชีวิต และดานความภูมิใจในองคการ ในภาพรวมอยูในระดับมากเชนกัน 4. บุคลากรของกองทัพภาคที่ 1 ที่มีระดับตําแหนงชั้นสัญญาบัตร มีคาเฉลี่ยของการ รับรูการนําแนวคิดการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีมาใชในการพัฒนาองคกรสูง และคาเฉลี่ยของการ รับรูคุณภาพชีวิตการทํางานดานความสมดุลในการดําเนินชีวิตสูงกวาบุคลากรของกองทัพภาคที่ 1 ที่มี ระดับตําแหนงชั้นประทวน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05ข 5. เมื่อตัวแปรการรับรูการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีรวมกับตัวแปรการจัดสรร สวัสดิการเพื่อทํานายคุณภาพชีวิตการทํางาน พบวา มีตัวแปรการรับรูการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ไดแก ดานนิติธรรม ดานความโปรงใส และดานความรับผิดชอบ รวมกับการจัดสรรสวัสดิการ ทั้ง 2 ดาน ไดแก ดานสวัสดิการขาราชการที่รัฐจัดให และดานสวัสดิการภายในกองทัพบก สามารถ พยากรณคุณภาพชีวิตการทํางานได โดยมีอํานาจในการพยากรณไดรอยละ 29.5

abstract:

Abstract Title : The Perception of Good Governance Management, Welfare Management and Quality of Work Life : A Case Study of Staff at 1st Army Area Command. Field : Military Name : Maj.Gen. Phisanu Boonruksa Course : NDC Class : 57 The purpose of this study was investigated the perception of Good Governance Management, Welfare Management and Quality of Work Life. This study aimed to construct an equation predicting quality of work life by using Good Governance Management and Welfare Management together as predicting variables. The sample consisted of 401 staff in the 1st Army Area Command (commissioned officer, noncommissioned officer and below). The instrument employed was questionnaires which consist of 4 parts: Part 1 is the general information of all questioners. Part 2 is related to the measurement of perception of good governance management (18 items, reliability 0.961). Part 3 is the measurement of perception of welfare management (25 items, reliability 0.945) and Part 4 is the measurement of quality of work life (24 items, reliability 0.881). The statistical analysis used for this study were arithmetic mean, standard deviation, frequency, percentage, one-way analysis of variance and stepwise multiple regression analysis. The results of this study are as follows. 1) The all staff in the 1st Army Area Command has a high level of overall perception of good governance management which includes the rule of law, conscious of social responsibility, transparency, decentralization and people participation. A high level of overall perception of welfare management which includes welfare by governance and welfare by organization. And a high level of overall quality of work life which includes adequate and fair compensation component, safe and healthy working condition component, human capacities development component, growth and security component, social integration component, constitutionalist component, total life space component and organization pride component. 2) The all staff in the 1st Army Area Command between commissioned level has aperception of good governance management and quality of work life higher than noncommissioned level by significantly statistic level .05. and 3) The stepwise multiple regressions is indicated that good governance management; the rule of law, transparency and conscious of social responsibility with welfare management; by governance and by organization are significant predictors of quality of work life with a predictability of 29.5%.