สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
309036
Today :
000305
Total :
086990
Download :
030525
เรื่อง:
การมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิชาการ
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
คณะผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รุ่นที่ ๑๑ กลุ่มที่ ๗
หน่วยงานเจ้าของ:
สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง
ปีที่พิมพ์:
2567
จำนวนหน้า:
87
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ เรื่อง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ การมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา ผู้วิจัย คณะผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคงสำหรับ ผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รุ่นที่ ๑๑ กลุ่มที่ ๗ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ ๒) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา โดย จำแนกตาม ตำแหน่ง เพศ และระดับชั้น และ ๓) เสนอแนะการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สภานักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ จำนวน ๒๒๔ คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของ สภานักเรียนต่อการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ค่า t และการทดสอบค่า F และวิเคราะห์เนื้อหาข้อเสนอแนะ จากการสนทนากลุ่มของผู้เชี่ยวชาญ ผลการศึกษา พบว่า ๑. การมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ การให้สภานักเรียนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมของโรงเรียน รองลงมาคือ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสภานักเรียนกับโรงเรียน การจัด กิจกรรมเสริมหลักสูตร และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตามลำดับ ๒. การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ จำแนกตามตำแหน่ง เพศ และระดับชั้น พบว่า ไม่มีความแตกต่างของการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓. ข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ ใน ๔ ด้าน คือ๑) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๒) การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ๓) การให้สภานักเรียนมี ส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน ๔) การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสภานักเรียนกับโรงเรียน คือการมี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา ทั้ง ๔ ด้านเกิดขึ้นได้โดยสภานักเรียนมี ความตระหนักรู้ และเข้าใจในบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของสภานักเรียน การเปิดโอกาสและ สนับสนุนให้สภานักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง สภานักเรียน นักเรียน ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชน คำสำคัญ : การมีส่วนร่วม, สภานักเรียน, การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
abstract:
บทคัดย่อ เรื่อง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ การมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา ผู้วิจัย คณะผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคงสำหรับ ผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รุ่นที่ ๑๑ กลุ่มที่ ๗ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ ๒) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา โดย จำแนกตาม ตำแหน่ง เพศ และระดับชั้น และ ๓) เสนอแนะการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สภานักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ จำนวน ๒๒๔ คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของ สภานักเรียนต่อการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ค่า t และการทดสอบค่า F และวิเคราะห์เนื้อหาข้อเสนอแนะ จากการสนทนากลุ่มของผู้เชี่ยวชาญ ผลการศึกษา พบว่า ๑. การมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ การให้สภานักเรียนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมของโรงเรียน รองลงมาคือ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสภานักเรียนกับโรงเรียน การจัด กิจกรรมเสริมหลักสูตร และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตามลำดับ ๒. การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ จำแนกตามตำแหน่ง เพศ และระดับชั้น พบว่า ไม่มีความแตกต่างของการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓. ข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ ใน ๔ ด้าน คือ๑) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๒) การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ๓) การให้สภานักเรียนมี ส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน ๔) การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสภานักเรียนกับโรงเรียน คือการมี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา ทั้ง ๔ ด้านเกิดขึ้นได้โดยสภานักเรียนมี ความตระหนักรู้ และเข้าใจในบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของสภานักเรียน การเปิดโอกาสและ สนับสนุนให้สภานักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง สภานักเรียน นักเรียน ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชน คำสำคัญ : การมีส่วนร่วม, สภานักเรียน, การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน