เรื่อง: บทบาทของสำนักงบประมาณกับยุทธศาสตร์การพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย กรณีศึกษา : เมืองพัทยา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง พิมพร โอวาสิทธิ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง บทบาทของสํานักงบประมาณกับยุทธศาสตรการพัฒนาสงเสริมการทองเที่ยว
ของประเทศไทย กรณีศึกษา : เมืองพัทยา
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นางพิมพร โอวาสิทธิ์ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
บทบาทของสํานักงบประมาณกับยุทธศาสตรการพัฒนาสงเสริมการทองเที่ยวของประเทศ
ไทยกรณีศึกษาเมืองพัทยา เป)นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิเคราะหจากข/อมูลทุติยภูมิโดยรวบรวม จาก
ข/อบัญญัติงบประมาณรายจายเมืองพัทยา พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป3เมืองพัทยา
แผนพัฒนาเมืองพัทยา รวมทั้งข/อมูลสถิติจากรายงานประจําป3 รายงานสถานะการคลังประจําป3 เมือง
พัทยา เป)นต/นโดยหาความสัมพันธเบื้องต/นระหวางงบประมาณที่จัดสรรด/านการทองเที่ยวกับยุทธศาสตร
การทองเที่ยวที่รัฐบาลได/มีนโยบายไว/
ในการวิจัยครั้งนี้ได/ใช/ข/อมูลเชิงเอกสารจากเอกสารประกอบงบประมาณรายจายประจําป3
งบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2558 และข/อบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป3งบประมาณ พ.ศ. 2555 –
2558 ของเมืองพัทยา และแผนพัฒนาเมืองพัทยา ข/อมูลจากบุคคลและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวข/อง รวมทั้ง
ประสบการณในการทํางานด/านงบประมาณของผู/วิจัย ผลการศึกษาพบวา สํานักงบประมาณมีบทบาท
ในการสนับสนุนยุทธศาสตรการพัฒนา และสงเสริมการทองเที่ยวของชาติ โดยความเชื่อมโยงตามหลักการ
ของระบบงบประมาณแบบมุงเน/นผลงาน ซึ่งเมืองพัทยาจะกําหนดผลผลิต/โครงการ ที่จะขอรับการจัดสรร
งบประมาณจากรัฐบาล โดยพิจารณาจากภารกิจของเมืองพัทยา ความสอดคล/องกับยุทธศาสตรกระทรวง
(กระทรวงมหาดไทย) และเปBาหมายบริการกระทรวง และสอดคล/องกับยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณ
รายจายประจําป3ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ ดังนั้นในการจัดสรรงบประมาณของสํานักงบประมาณ
ที่จัดสรรตามผลผลิต/โครงการตางๆ จึงเชื่อมโยงไปสูยุทธศาสตรชาติในด/านตางๆ ได/ และงบประมาณ
ด/านการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวเมืองพัทยามีจํานวนมากขึ้นในทุกป3 โดยเฉพาะอยางยิ่ง สัดสวน
งบประมาณด/านการทองเที่ยวตองบประมาณรวม ที่มีสัดสวนเพิ่มสูงขึ้นในแตละป3 ซึ่งแสดงให/เห็นวา
ทั้งเมืองพัทยาและรัฐบาลให/ความสําคัญกับการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ
เนื่องจากภารกิจหน/าที่ของเมืองพัทยาซึ่งต/องดําเนินการจัดบริการสาธารณะให/กับประชาชนและข
นักทองเที่ยวในพื้นที่ จึงไมสามารถแยกการดําเนินการระหวางการจัดบริการสาธารณะ กับการพัฒนา
การทองเที่ยวได/อยางชัดเจน ซึ่งการดําเนินงานตางๆ เหลานี้ล/วนเป)นการชวยพัฒนาและสงเสริมการ
ทองเที่ยวทั้งสิ้น
ผู/วิจัยมีข/อเสนอวาควรนําประเด็นเรื่องการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวเป)น
“แผนบูรณาการ งบประมาณ” เพื่อให/แตละหนวยงานสามารถดําเนินงานสนับสนุนการทองเที่ยวได/อยาง
มีประสิทธิภาพ และเป)นรูปธรรม เมืองพัทยาควรปรับปรุงการจัดเก็บรายได/ของตนเองให/มีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีการใช/จายที่เกิดขึ้นของนักทองเที่ยวเป)นการใช/จายในพื้นที่เมืองพัทยาเป)นสวนใหญ
โดยลดการพึ่งพาเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เนื่องจากรัฐบาลยังมีภาระในการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนา
และแก/ไขปHญหาในด/านอื่นๆ อีกมาก เมืองพัทยา ในฐานะที่เป)นหนวยงานภาครัฐ ที่มีภารกิจและหน/าที่
ในการให/บริการสาธารณะรวมทั้งพัฒนาสงเสริมการทองเที่ยว ควรปรับเปลี่ยนบทบาทให/ภาคเอกชน
เข/ามามีบทบาทในด/านตางๆ มากขึ้น โดยเมืองพัทยาควรเพิ่มบทบาทในการประสานงานกับหนวยงาน
ภาครัฐอื่น หรือระหวางภาคเอกชน เพื่อสนับสนุนและควบคุมให/การทองเที่ยวเป)นไปด/วยด/วยความ
เรียบร/อย จําเป)นต/องพัฒนาเมืองในด/านตางๆ ควบคูกันไปกับการพัฒนาด/านสาธารณูปโภค
ด/านคมนาคม หรือด/านการทองเที่ยว เพื่อให/การพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวเป)นไปในแนวทาง
การพัฒนา แบบยั่งยืน เพื่อปลูกฝHงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ฯลฯ โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนา
ด/านสังคม ทั้งการศึกษา วัฒนธรรม ด/านสิ่งแวดล/อม ไปพร/อมๆ กัน
abstract:
ABSTRACT
Title: The Role of the Bureau of the Budget and Thailand’s Tourism
Promotion Development Strategy
Field: Economics
Name: Mrs. Pimporn Ovasith Course: NDC Class 57
The research on the role of the Bureau of the Budget and Thailand’s tourism
promotion development strategy with the case study of the City of Pattaya is a qualitative
research by analyzing secondary data gathered from the Budget Ordinance of the City of
Pattaya, Pattaya Budget Act, the City of Pattaya’s development plan as well as statistical data
from annual reports, public finance reports of the City of Pattaya, and so on, and finding the
preliminary relationship between the allocated budget on tourism and the government’s
tourism strategy.
This research used documentary data from the documents supplement to the
Budget for FY 2012 – FY 2015 and the Budget Ordinance for FY 2012 – FY 2015 of the City of
Pattaya, and the City of Pattaya’s development plan, data from related persons and agencies as
well as the researcher’s budgeting experiences. The findings of the research showed that the
Bureau of the Budget played an important role in supporting the national tourism development
and promotion through linkages according to the principles of the performance-based budgeting
system where the City of Pattaya would identify output / projects to be submitted for budget
allocation from the government. These output / projects would be considered from respective
missions of the City of Pattaya, consistency with the ministerial strategy (Ministry of Interior), the
ministerial service targets as well as the annual budget allocation strategy that was linked to the
national strategy. Thus, by allocating the budget by the Bureau of the Budget through output /
projects, the national strategy was able to link up to various sectors. The budget allocated for
the City of Pattaya’s tourism development and promotion has been increasing over the years,
particularly the proportion of the budget allocated to tourism to the overall budget. This
indicated that the City of Pattaya and the government significantly gave more importance on
tourism development and promotion. Since the mission of the City of Pattaya was to provide 7
public services to its people and tourists visiting the area, then it became difficult to clearly
separate the implementation of public service provision and that of tourism development as
these public services also contributed to tourism development and promotion as well.
The researcher proposed that tourism development and promotion issue should be
raised as “a budget integration plan” so that each related agency is efficiently contributing to
tourism and in a concrete manner. The City of Pattaya should improve its ability to collect
revenue as most of expenses spent by tourists occur in the City of Pattaya. This will help to
reduce the dependence on the government subsidy since the government has a lot more
obligations to develop and resolve other problems. The City of Pattaya as a public agency that
has a mission and responsibility to provide public services as well as develop and promote
tourism, should adjust its role by letting the private sector to get more involved in various
issues. The City of Pattaya should increase its role as a coordinator with other public agencies or
among the private sector in order to ensure that tourism is supported and controlled in a tidy
manner. It is also necessary to develop the City in other areas simultaneously with the
development of utilities, transport or tourism so as to ensure that tourism development and
promotion is developed in a sustainable way. This is to instill discipline, accountability, etc.
particularly social development including education, culture and environments at the same
time.