สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
304986
Today :
000246
Total :
086931
Download :
030525
เรื่อง:
วารสารวิชาการป้องกันประเทศ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนกันยายน - ธันวาคม 2564
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
หน่วยงานเจ้าของ:
สำนักการศึกษาทหาร
ปีที่พิมพ์:
2564
จำนวนหน้า:
144
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ
บทคัดย่อ:
บทบรรณาธิการ สวัสดีทุกท่าน สืบเนื่องจากปกหน้าด้านใน “5 ตุลาคม วันนวัตกรรมไทย” คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2549 ให้ดำเนินโครงการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี และรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณพระอัจฉริยภาพ และพระปรีชาสามารถด้านนวัตกรรม โดยการใช้เทคโนโลยีแก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยวให้สามารถใช้ประโยชน์ ทางการเกษตรได้ ด้วยกรรมวิธี “แกล้งดิน” ดังนี้ 1. เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็น “พระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย” 2. ให้วันที่ 5 ตุลาคมของทุกปี เป็น “วันนวัตกรรมแห่งชาติ” แนวพระราชดำรินี้ เนื่องมาจากเมื่อวันจันทร์ที่ 5 ตุลาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรการดำเนินโครงการของศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ และ ทรงได้มีพระราชดำรัสแสดงถึงความเป็นนวัตกรรมของ “โครงการแกล้งดิน” ที่ไม่มีใครทำมาก่อน และ ได้ทรงพระราชทานพระราชดำริให้ทำเป็นตำรา คือ “คู่มือปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อการเกษตร” สำหรับ ที่จะใช้พัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยวอื่น ๆ ต่อไป (ข้อมูลจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี http://dev1. colorpack.net/most/main/th/knowledge/sciencehits/150-open-innovation/2385-national-innovation-day สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564) จะเห็นว่า นวัตกรรมมีความสำคัญทั้งต่อการพัฒนาองค์กร ท้องถิ่น และประเทศ ไม่ทางใด ก็ทางหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมทางด้านผลิตภัณฑ์ ด้านกระบวนการทำงาน ด้านการให้บริการ ด้านการจัดการ หรือด้านการตลาด โดยการที่องค์กรจะสามารถประสบความสำเร็จได้อย่างต่อเนื่อง จะต้องเกิดขึ้นจากการมีนวัตกรรม องค์กรที่สามารถนำนวัตกรรมใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้ในองค์กรได้ ย่อมทำให้องค์กรนั้นมีความพร้อมและสามารถที่จะแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆ ได้ จากแนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมดังกล่าว ผู้บัญชาการทหารสูงสุดได้นำมาประยุกต์เป็นเจตนารมณ์ ที่มุ่งให้กองทัพไทยมีนวัตกรรมที่ทันสมัย และมีการพัฒนากำลังพลให้มีคุณลักษณะของการเป็นนวัตกร โดยมอบให้สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ดำเนินการพัฒนาขีดความสามารถกำลังพลกองทัพไทยในการ สร้างนวัตกรรมด้านการศึกษาทางทหาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้กำลังพลของกองทัพไทยทุกระดับ รวมถึงนักเรียนทหาร ได้พัฒนาความคิดเชิงนวัตกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และฝึกทักษะในการสร้างนวัตกรรม ซึ่งสถาบันวิชาการป้องกันประเทศก็ได้มีการตอบสนองนโยบาย โดยจัดโครงการพัฒนาขีดความสามารถ กำลังพลกองทัพไทยในการสร้างนวัตกรรมด้านการศึกษาทางทหาร เมื่อช่วงกันยายน-ตุลาคม 2564 ที่ผ่านมาเรียบร้อยแล้ว รายละเอียดขอเชิญทุกท่านอ่านได้ในบทความพิเศษ รวมทั้งชมวีดิทัศน์ในการจัด กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการพัฒนาขีดความสามารถกำลังพลกองทัพไทยฯ โดยการสแกน QR Code ท้ายบทความ ในวารสารฉบับนี้ ยังมีบทความวิชาการและบทความวิจัย ที่น่าสนใจอีกมากมาย ซึ่งเป็นองค์ความรู้ ด้านความมั่นคงแบบองค์รวมในหลายสาขา ได้แก่ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และการศึกษา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน และสิ่งแวดล้อม การทหารและการป้องกันประเทศ ทางกองบรรณาธิการฯ หวังว่า ท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ไปใช้ประโยชน์เป็นอย่างดี และหากมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะที่จะช่วย พัฒนาวารสารฯ กองบรรณาธิการฯ พร้อมรับและจะยินดีอย่างยิ่ง บรรณาธิการ วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ---------------------------บทความพิเศษ การดำเนินการพัฒนาขีดความสามารถกำลังพลกองทัพไทย ในการสร้างนวัตกรรมด้านการศึกษาทางทหาร กองวิทยาการ สำนักการศึกษาทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทความวิชาการ • วิกฤต COVID-19 กับความมั่นคงของอาเซียน ธำรงชัย หนุนภักดี และ นิตยา งานไว การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่ออุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทยสู่ยุคเมตาเวิร์ส อานนท์ ทับเที่ยง Edtech เทรนด์การศึกษายุคใหม่: การนำมาใช้ลดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา ท่ามกลางปัญหาช่องว่างทางดิจิทัล สิริมาส จันทน์แดง บทความวิจัย • การพัฒนาแผนปฏิบัติการกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกรมการสื่อสารทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ชาญชัย ประมูลเฉโก และ วคิณ ชูประยูร • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยของนักบินและช่างอากาศยานในศูนย์การบินทหารบก สุทธิเกียรติ คอทอง และ ไชยสิทธิ์ ตันตยกุล ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ: กรณีศึกษา กรมพลาธิการทหารบก ทัตยา ดวงจรัส และ พัฒน์ พิสิษฐเกษม • การพัฒนาอุปกรณ์ใช้ในห้องปฏิบัติการโรงเรียนนายเรือเพื่อติดตามการตกอิสระของวัตถุควบคุม ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์และสมาร์ทโฟน วีระ บุญผุด และ ประเสริฐ แป้นหยูรัตน์ • ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช พลอยบุษรา บุญญาพิทักษ์ คำแนะนำในการเตรียมบทความ ภาพกิจกรรมสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ .
abstract:
-