Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนากฎหมายล้มละลายในประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พสิษฐ์ อัศววัฒนาพร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง การพฒั นากฏหมายลม ้ ละลายในประเทศไทย(Development of Insolvency Laws) ลักษณะวชิา การเมือง ผ ้ วูิจยั นายพสิษฐ ์ อศัวฒั นาพร หลักสูตร วปอ. รุ่นท ีÉ ŝş นบั ตÊงัแต่พระราชบญั ญตัิลม้ละลาย พุทธศกัราช ŚŜŠś มีผลบงัคบั ใช้ประเทศไทยไดม้ีการ แกไ้ขพระราชบญั ญตัิดังกล่าวรวมทÊงสิ ั Êน ş ครัÊง ซึÉงการแกไ้ขโดยส่วนใหญ่เป็นการแกไ้ขเพÉิมเติมใน รายละเอียด การแกไ้ขทีÉนับว่ามีความสําคญั และเป็นการปรับเปลีÉยนทีÉสําคญั ได้แก่การแกไ้ขเพÉิมเติม ครัÊงทีÉ Ŝ โดยการเพิÉมบทบัญญัติใหม่ว่าด้วยการฟÊืนฟูกิจการเข้าไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย เมืÉอพิจารณาจากสภาพสังคมและเศรษฐกิจทÉีเปลีÉยนแปลงไปมาก พระราชบัญญัติลม้ละลายจาํ เป็น ทีÉจะตอ้งไดร้ับการแกไ้ขปรับปรุงเพÉือให้ใชเ้ป็นเครืÉองมือในการช่วยเหลือลูกหนÊีในเวลาทีÉประสบปัญหา ทางการเงินได้ ผู้วิจยัจึงมีความเห็นว่าจะเป็นตอ้งมีการปรับปรุงพระราชบญั ญตัิลม้ละลาย พุทธศกัราช ŚŜŠśเสียใหม่และปรับปรุงทÊงัในแง่โครงสร้างและเนÊือหาของพระราชบญั ญตัิลม้ละลาย ในส่วนเนÊือหา ควรมีการแกไ้ขเพÉิมเติมให้ลูกหนีÊสามารถร้องขอให้ตนเองลม้ละลายได้การปรับปรุงวิธีการจัดการ ทรัพยส์ิน โดยเฉพาะในส่วนของการเพิกถอนและในส่วนของการปฏิเสธสัญญา การปรับเปลีÉยนให้ เอกชนเป็ นเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เพืÉอบริหารจัดการทรัพยส์ ินแทนเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพยใ์น ปัจจุบันซึÉงใช้ระบบราชการ และควรเพิÉมกระบวนการทีÉเกÉียวขอ้งกบัการล้มละลายเพÉือให้กฎหมาย ลม้ละลายสามารถช่วยเหลือลูกหนีÊในสถานการณ์ต่างๆ ทÉีแตกต่างกนั ได้ในส่วนของโครงสร้างจะเห็น ไดว้่าการดาํ เนินคดีลม้ละลายจะมีกระบวนพิจารณาทีÉเหมือนกนั แต่พระราชบญั ญตัิลม้ละลายจะเขียนไว้ ต่างทีÉกนั ทาํให้เกิดปัญหาการตีความและการแกไ้ขกฎหมายในอนาคต เพÉือลดปัญหาดงักล่าว จึงควร ปรับปรุงพระราชบญั ญตัิลม้ละลาย พทุ ธศกัราช ŚŜŠśให้มีลกัษณะคลา้ยประมวลกฎหมาย ทีÉมีบทบญั ญตัิ ในส่วนทีÉตอ้งใชร้่วมกนัแยกออกเป็นบททวÉัไป ส่วนบทบญั ญตัิใดทีÉมีเนืÊอหาแตกต่างกนั เพราะกระบวน พิจารณาแตกต่างกนั ก็จะบญั ญตัิไวเ้ฉพาะในบทบญั ญตัิส่วนนÊนั จะช่วยให้เกิดการตีความและการแกไ้ข กฎหมายในอนาคตสามารถกระทาํไดง้่ายขÊึน

abstract:

0