เรื่อง: การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาภาคเอกชนด้วยมาตรการส่งเสริมการลงทุน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว ดวงใจ อัศวจินตจิตร์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาภาคเอกชนด้วยมาตรการส่งเสริมการลงทุน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นางสาวดวงใจ อัศวจินตจิตร์ หลักสูตร วปอ. ร่นที
ุ 56
โครงการวิจัยนี(มีวัตถุประสงค์เพื+อศีกษาและประเมินมาตรการส่งเสริมการวิจัยและ
พัฒนาของภาคเอกชน และเสนอแนะแนวทางปรับปรุงมาตรการเหล่านี(เพื+อตอบสนองเป้ าหมายของ
รัฐบาลที+จะให้ประเทศไทยกาวพ้นจากก ้ บดักรายได้ปานกลาง โดยมีขอบเขตการวิจัยครอบคลุมถึง ั
มาตรการต่างๆของสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนและกรมสรรพากร รวมทั(งศึกษา
มาตรการที+ประเทศเกาหลีใต้ สิงคโปร์ ไต้หวันและมาเลเซียใช้เพื+อเป็ นกรณีศึกษา วิเคราะห์ปัญหา
อุปสรรคของมาตรการที+ใช้อยู่และจัดทําข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งมาตรการของไทย
โครงการวิจัยนี(จะเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาวิเคราะห์จากเอกสาร การสัมภาษณ์ และสถิติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที+ 11 กาหนดเป้ าหมายให้มีค ํ ่าใช้จ่ายด้าน
การวิจัยและพัฒนาอยางน้อยร้อยละ 1 ของ GDP ภายในปี 2559 แต ่ ่ตัวเลขล่าสุดที+ได้จากการสํารวจ
อยู่ที+เพียงร้อยละ 0.37 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้กาหนดให้สิทธประโยชน์ ํ
สูงสุดแก่กิจการวิจัยและพัฒนา และยังมีมาตรการสนับสนุนการพัฒนาทักษะ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม (Skill, Technology & Innovation—STI) ด้วย แต่ก็มีโครงการที+มาขอรับสิทธิประโยชน์
เหล่านี(น้อยมาก ส่วนมาตรการหักค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาได้เป็ นสองเท่าของ
กรมสรรพากรก็เช่นกน ปัญหาอุปสรรคสําคัญของไทยคือ ั การกาหนดนโยบายและมาตรการที+ยัง ํ
ขาดการพิจารณาอย่างเป็ นองค์รวม ประเภทของมาตรการที+ค่อนข้างจํากด และ ั เงื+อนไขของ
มาตรการบางประการมีข้อจํากดหรือยุ ั งยาก ่
ข้อเสนอแนะหลักคือ (1) ปรับมาตรการ STI ให้ครอบคลุมการลงทุนหรือค่าใช้จ่ายที+
เก
ี+
ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การเข้าร่วมโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที+
ดําเนินการร่วมกบภาครัฐ ค ั ่าธรรมเนียมการใช้สิทธิเทคโนโลยีที+พัฒนาในประเทศ ค่าใช้จ่ายในการ
ขอรับความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และการปรับจาก Lab Scale ไปสู่ Commercial Scale (2)
ให้โครงการที+หมดสิทธิการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปแล้วหรือโครงการที+ไม่ได้รับการส่งเสริม
การลงทุนขอรับสิทธิประโยชน์ STI ได้ หากมีการวิจัยและพัฒนา (3) กาหนดเงื+อน ํ ไขกรมสรรพากร
และสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนให้เอือแต่ SMEs มากขึน และเพิ$มเครื$องมือทางภาษี
abstract:
Abstract
Title Promoting Business Research and Development Expenditures through
Investment Promotion Measures
Field Economics
Name Duangjai Asawachintachit Course NDC Class 56
The objectives of this research project are to study and assess government measures
aimed at encouraging the private sector’s research and development (R&D) activities and to
propose recommendations on how to improve these measures with a view to driving Thailand out
of the middle income trap. The scope of this research covers the examination of measures
implemented by the Office of the Board of Investment (BOI) and the Revenue Department as
well as those used by South Korea, Singapore, Taiwan and Malaysia, the assessment of problems
arising from the implementation of current measures and the formulation of improvement
recommendations. This research is qualitative and based on documents, interviews and statistics.
Under the eleventh National Economic and Social Development Plan, R&D
expenditures are targeted to account for 1 percent of the country’s gross domestic product by
2016. Nonetheless, the latest survey shows that R&D expenditures currently stand at only 0.37
percent of GDP. Although the BOI has offered attractive tax incentives to encourage the business
sector to conduct more activities based on skills, technology and innovation (STI), very few
companies have taken up these measures. The same situation applies to the Revenue
Department’s measures. The lack of policy co-ordination, the limitations of available measures
and difficult conditions attached to these measures seem to be among the major problems found.
Key recommendations include (1) expanding the scope of STI measures to cover
expenditures related to product and packaging designs, participation in government-sponsored
human resource development programs, the use of locally-developed technologies, applying for
intellectual property right protection, and upgrading from the laboratory to commercial scale (2)
allowing projects with no remaining corporate income tax exemption to apply for STI incentives
and (3) adjusting measures to accommodate SMEs and introducing additional tax measures.