Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: กลยุทธ์การนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการภัยพิบัติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ดร. พรสุข จงประสิทธิ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง กลยุทธการนําเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาใชในการบริหารจัดการภัยพิบัติ ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรเทคโนโลยี ผูวิจัย ดร.พรสุข จงประสิทธิ์ หลักสูตรวปอ. รุนที่๕๗ ภัยพิบัติไดสรางความเสียหายทั้งชีวิต ทรัพยสิน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม คิดเปนมูลคามหาศาล หากการจัดการภัยพิบัติไมมีประสิทธิภาพ ยอมเกิดผลกระทบในวงกวาง และ ขัดขวางความเจริญกาวหนาของประเทศในอนาคตแนวโนมการเกิดภัยพิบัติจะทวีความรุนแรงมาก ยิ่งขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การจัดการภัยพิบัติขนาดใหญที่ผานมา ประเทศ ไทยไมสามารถรับมือและเผชิญเหตุไดอยางมีประสิทธิภาพ ขาดเครื่องมือ อุปกรณ และกําลังคนที่มี ความรูความสามารถ ทําใหเกิดความเสียหายอยางมาก จนรัฐบาลตองใหความสําคัญกับการบริหาร จัดการภัยพิบัติซึ่งนานาประเทศไดใหความสําคัญมานานแลว การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาพถายจากดาวเทียม รวมทั้ง ดาวเทียมดวงเล็ก อากาศยานไรคนขับ มาเปนเครื่องมือชวยในการจัดเก็บวิเคราะหและประมวลผลแบบจําลองจาก ขอมูลเชิงพื้นที่รวมถึงการปรับปรุงกฎ ระเบียบ ขอบังคับในการบริหารจัดการภัยพิบัติ ชวยในการ บริหารจัดการภัยพิบัติทั้งนี้ลาสุดแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได กําหนดกลไกการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติ และบทบาทหนาที่ และแนวทางปฏิบัติรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ตลอดจนแนวคิดเชิงกลยุทธการจัดการในภาวะ ฉุกเฉิน และกลยุทธการบูรณาการการจัดการในภาวะฉุกเฉิน ดังนั้น หากทุกหนวยงานนําแผนไปขยายผลใหเปนรูปธรรม และนําขอเสนอแนะของ ผูเชี่ยวชาญไปปรับปรุงกระบวนการบริหารจัดการภัยพิบัติแตละประเภทใหมีประสิทธิภาพผานการ ปฏิบัติจริง และการฝกซอม โดยมีการสรุปบทเรียน เพื่อนํามาพัฒนาขั้นตอนตางๆ ใหมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นๆนั้น ก็จะสามารถบริหารจัดการภัยพิบัติ ใหรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ทุกหนวยงานที่รับผิดชอบดานเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ตองปฏิบัติตามแผนชาติฯ และประสาน สนับสนุนขอมูลเพื่อใหเกิดขั้นตอนการทํางานรวมกันที่ชัดเจน รวดเร็ว โดยแตละหนวยงานควร จัดทําคูมือการปฏิบัติงานอยางละเอียด เพื่อใหการดําเนินงานคลองตัว เปนระบบ และชัดเจน

abstract:

ABSTRACT Title Strategic Approach in Geo-informatics Technology to Disaster Management Field Science and Technology Name Ms. Pornsook Chongprasith Course NDC Class 57 Disasters affect many countries and also the world’s economy. Disasters can be deduced by efforts to overcome various difficulties. After the recent Tsunami and the large-scale flood disaster in Thailand, government and concerned agencies attempt to increase effectiveness through the enhancement of national capacity and policy readiness. The use of Geographic Information System (GIS) and remote sensing benefit disaster management in Thailand and the region. Recommendations from experts indicated that Geo-informatics with other modern technologies, such as, Unmanned Aerial Vehicle, Drone, Coastal Radar, Micro-Satellite, and perhaps ASEAN Constellation would enhance the effectiveness in the cycle of disaster management (that is, preparedness, response, mitigation, and recovery). GIS Technology differs dramatically from country to country. Data management and standardization (i.e. data collection, storage and retrieval) and timely communication are among issues to be overcome. Politic within government deter collaboration between agencies, and as a result, worsened the situation. Each and every agencies involved in the National Disaster Prevention and Mitigation Plan, B.E. 2558 (2015) are required to urgently develop a disaster management handbook. This Handbook should give accurate guidelines and detail procedures necessary for disaster management, a prompt response during the crisis of disaster situation. In addition, the spatial information from the satellite imaging could provide holistic picture necessary for decision making. Development of GIS data center with data standardization managed by a single agency are needed. As this region in general and Thailand in particular are prone to natural disaster, a concrete and practical plan to include the deployment of military assets and network of regional cooperation is also important and necessary.