เรื่อง: แนวทางและมาตรการการกำหนดเขตการใช้ที่ดินเพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรที่ดินของชาติ : กรณีศึกษาจังหวัดน่าน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พงศ์บุณย์ ปองทอง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าของประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายพงศ์บุณย์ ปองทอง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57
การศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าของประเทศไทย ซึ่งมี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหา อุปสรรค ช่องว่างและข้อจ้ากัดในการจัดการพื้นที่ชุ่มน้้า และ
เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแนวทาง มาตรการ และกลยุทธ์การจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าของประเทศ
ตลอดจนแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชน และภาคเอกชน โดยผู้วิจัยมุ่งศึกษากฎหมาย นโยบาย
และระเบียบที่เกี่ยวข้องที่ใช้เป็นเครื่องมือในการป้องกันและคุ้มครองพื้นที่ชุ่มน้้าของประเทศ และ
แนวทางการจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ
ข้อจ้ากัดในการจัดการซึ่งประกอบด้วยการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมการใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน้้าอย่าง
ยั่งยืน การวิจัยครั้งนี้ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้อง ศึกษาตัวอย่างการจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าที่ดีของ
ชุมชนและหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และข้อมูลจากแบบสอบถามตัวแทนจากหน่วยงานภาครัฐ
องค์กรภาคประชาชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถาบันการศึกษา ที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุ่มน้้า สรุปข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา
การจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าของประเทศไทย ดังนี้ 1) การสร้างความรู้และความตระหนัก ได้แก่ จัดตั้งศูนย์
เรียนรู้การใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน้้าเพื่อรวบรวมและเผยแพร่วิธีปฏิบัติที่ดีสร้างความเข้าใจและส่งเสริม
บทบาทภาคธุรกิจในการจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าและการใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน้้าอย่างยั่งยืน และส่งเสริมให้
มีหลักสูตรการศึกษาเกี่ยวกับพื้นที่ชุ่มน้้าในสถาบันการศึกษาทุกระดับ เป็นต้น 2) การอนุรักษ์และใช้
ประโยชน์อย่างยั่งยืน ได้แก่ อนุรักษ์ และฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้้าเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(การปรับตัว และป้องกัน) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และประกาศพื้นที่ชุ่มน้้าที่ส้าคัญเป็นพื้นที่
อนุรักษ์ตามกฎหมาย เป็นต้น 3) การบริหารจัดการ ได้แก่ จัดตั้งคณะกรรมการ/อนุกรรมการจัดการ
พื้นที่ชุ่มน้้าระดับจังหวัดเพื่อบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าอย่างยั่งยืน จัดท้าแผนจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าระดับ
พื้นที่และส่งเสริมการบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้้าโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เป็นต้น
abstract:
Abstract
Title A Study on Guidelines on Addressing Wetlands Management in Thailand
Field Science and Technology
Name Mr.Pongboon Pongtong Course NDC. Class 57
This study aims to examine and assess problems, gaps and limitations
regarding wetlands management and to provide reccommendations on improving
guidelines, measures and strategies on wetlands management in Thailand,
including public and private sector participation. Related laws, regulation, policies
and management guidelines as major instruments to prevent and protect wetlands
had been studied to assess and evaluate problems, obstacles and limitations in
wetland management and in wetland conservation, restoration and sustainable
use. This study also assessed relevant secondary data and case studies of good
practices in wetland management from local communities and local administrative
organization, and information received from government organizations, civil society,
NGOs, local administrative organizations concerned with biodiversity management
in wetland ecosystems .Conclusions from the study are as follows:
1. Outreach initiatives to enhance public awareness and participation: including the
establishment of Wetland Learning Center, encouraging and promoting business
sector participation in wetland management and sustainable use
2. Conservation and sustainableuse of wetlands: including conserving and restoring
wetlands in accordance with climate change adaptation and prevention
3. Good governance : including the establishment of Provincial Committee on
Wetlands to oversee wetland management in a sustainable manner, developing
are-based wetland management plans and promoting wetland management with
community participation.