เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนในทะเล กรณีไทย -กัมพูชา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง เปรมฤทัย วินัยแพทย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการแกไขปญหาพื้นที่อางสิทธิทับซอนในทะเล : กรณีไทย – กัมพูชา
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย นางเปรมฤทัย วินัยแพทย หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
พื้นที่อางสิทธิไหลทวีปทับซอนไทย-กัมพูชาเปนพื้นที่ขนาดมากกวา 26,000 ตาราง
กิโลเมตร ในทะเลอาวไทย ซึ่งเกิดจากการอางสิทธิอยางเปนทางการของกัมพูชาและไทยทับซอนกันใน
ป พ.ศ. 2515 และ 2516 ตามลําดับ แมวารัฐบาลทั้งสองจะไดพยายามเจรจาเพื่อแกไขปญหาดังกลาว
มาตั้งแตป พ.ศ. 2513 แตจนถึงปจจุบันรัฐบาลทั้งสองยังไมสามารถบรรลุขอตกลงระหวางกัน ทั้งนี้
เนื่องจากทาทีของทั้งสองฝายมีความแตกตางกัน ประกอบกับสถานการณทางการเมือง รวมทั้ง
ความสัมพันธระหวางประเทศทั้งสองในชวงที่ผานมาสงผลกระทบทําใหบรรยากาศไมเอื้อตอการ
เจรจา ทําใหการเจรจาระหวางรัฐบาลไทยและกัมพูชาหยุดชะงักไปตั้งแต ป พ.ศ. 2549 อยางไรก็ตาม
ดวยสถานการณในปจจุบันรัฐบาลทั้งสองมีความสัมพันธอันดีระหวางกัน ก็นาที่จะเปนโอกาสอันดีที่ทั้ง
สองฝายจะกลับมาเจรจากันอีกครั้ง การศึกษาวิจัยฉบับนี้ไดวิเคราะหเกี่ยวกับสถานะของพื้นที่อางสิทธิ
ไหลทวีปทับซอนไทย-กัมพูชา รวมถึงแนวทางการแกไขปญหาฯ และขอกําหนดที่เกี่ยวของตามหลัก
กฎหมายทะเล ซึ่งเปนไปไดทั้ง (1) การเจรจาเพื่อการแบงเขตทางทะเลเปนการถาวร หรือ (2) การ
เจรจาเพื่อจัดทําความตกลงชั่วคราว (Provisional Arrangement) ในระหวางที่รัฐยังไมสามารถบรรลุ
ขอตกลงเรื่องเสนแบงเขตทางทะเลเปนการถาวรได ไดแก การจัดทําความตกลงเพื่อการพัฒนารวม
รวมถึง (3) ความเปนไปไดในการนําเรื่องขึ้นสูการพิจารณาของศาล ทั้งศาลยุติธรรมระหวางประเทศ
(International Court of Justice; ICJ) หรือศาลโลก หรือศาลกฎหมายทะเลระหวางประเทศ
(International Tribunal of the law of the sea: ITLOS) นอกจากนี้ยังไดวิเคราะหแนวทางการ
แกไขปญหาจากกรณีศึกษาสามกรณี ไดแก กรณีพื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเลเซีย กรณีการแบงเขตทาง
ทะเลเปนการถาวรไทย-เวียดนาม และกรณีพื้นที่พัฒนารวมสาธารณรัฐอินโดนีเซีย-ออสเตรเลีย
(ตอมาไดเปลี่ยนเปนพื้นที่พัฒนารวมออสเตรเลีย-ติมอรเลสเต) โดยรวม เปนที่สังเกตวาในทุกกรณีแนว
ทางการแกไขปญหาจะเริ่มจากการเจรจาเพื่อการแบงเขตทางทะเล มีการหารือเกี่ยวกับหลักการอาง
สิทธิทางทะเลตามหลักกฎหมาย พยายามลดขนาดกรอบพื้นที่อางสิทธิทับซอนตามหลักกฎหมายที่
เปนที่ยอมรับของทั้งสองฝายโดยไมไดปดโอกาสการพิจารณาแนวทางการพัฒนารวม ในกรณีที่ยังไม
สามารถบรรลุขอตกลงเรื่องเสนแบงเขตทางทะเลอาจพิจารณาจัดทําความตกลงวาดวยการพัฒนา
รวมกัน ทั้งนี้ในการเจรจานอกจากหลักการทางดานกฎหมายแลว นโยบายทางการเมืองและการ
สนับสนุนที่ชัดเจนของรัฐบาลที่มีความเปนเอกภาพ ไมนํามาเปนประเด็นทางการเมือง รวมถึงการ
รักษาความสัมพันธที่ดีระหวางประเทศก็เปนปจจัยที่สําคัญมีผลอยางยิ่งตอความสําเร็จในการเจรจา
หากปญหาดังกลาวไดรับการแกไขอยางรวดเร็ว ทรัพยากรปโตรเลียมที่คาดวาจะพบในพื้นที่ที่คาดวา
จะมีราคาถูกกวาพลังงานนําเขา จะสามารถพัฒนาขึ้นมาใชประโยชน ชวยเสริมสรางความมั่นคงดาน
พลังงาน และรักษาความสามารถในการแขงขันของประเทศ ซึ่งจะเปนผลดีตอเศรษฐกิจของไทยตอไป
abstract:
Abstract
Title Guidelines for the solutions to disputes on areas of overlapping maritime
claims: Thailand - Cambodia Case
Field Science and Technology
Name Mrs. Premrutai Vinaiphat Course NDC Class 57
TheThailand – Cambodiaoverlapping area is located in the Gulf of Thailand covering
over 26,000 square kilometers. Cambodia and Thailand officially claimed their overlapping
continental shelf right in 1972 and 1973 respectively. Negotiations to settle the problem had been
held since 1970. However, to present an amicable agreement still cannot be reached due to
different attitudes, coupled with political situations and relationship of the two countries which
discouraged the negotiation. In 2006, the negotiations on the overlapping claimed area between
the two governments was finally suspended. However, as the good relationship between the two
governments hasnow been restored, it would be a good opportunity that the negotiationcan be
restarted. This research study will discuss and analyze the status of the Thailand–Cambodia
overlapping claimsof the continental shelf right area, and guidelines to solve the problem as well
as related rules and regulations under the maritime laws, with the possible options of: 1.
Negotiation for a permanent delineation of maritime boundaries;or 2. Negotiation for a provisional
arrangement while a permanent delineation of maritime boundaries could not be reached, for
example, a preparation of anarrangement for a joint development, and the possibility to bring the
matter to the consideration of: 3. The Court, either the International Court of Justice (ICJ which
replaces the World Court), or the International Tribunal of the Law of the Sea (ITLOS). The paper
also discusses the guidelinesused in obtainingthe solutions in three cases: the Thailand – Malaysia
Joint Development Area (MTJDA), the permanent delineation of maritime boundaries between
Thailand and Vietnam, and the Indonesia and Australia Joint Development Area (now Timor-Leste
and Australia Joint Development Area). It is noted that in all the three cases, the first step taken by
the parties concerned in trying to solve the problem is through negotiations to delimit maritime
boundaries. Discussionsheld were on principles of continental shelf rightunder the laws and areas
of the overlappingcontinental shelf was minimized to be acceptable by both parties, to pave way
for potential joint development. In the case the boundaries delineation cannot be settled yet, both parties may consider to opt for a joint development agreement. In the negotiation, besides
legal principles, other crucial factors for the success of the negotiations include: political policy, unity of and full support from the governmentas well as good relationship of thetwo parties. If all
the issues above are properly and promptly addressed, petroleum resources expected to be
discovered in theoverlapping claimed areas which are cheaper thanthose imported canthen be
develop for good use and create a greater security of energy supply and maintain national
competitiveness which will benefit the economy of Thailand.