Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการจัดการระบบไฟฟ้าที่เหมาะสมในประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ปิยพรรณ หันนาคินทร์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการจัดการระบบไฟฟาที่เหมาะสมในประเทศไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย นาง ปยพรรณ หันนาคินทร หลักสูตร วปอ.รุนที่๕๗ ไฟฟาเปนปจจัยสําคัญปจจัยหนึ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ ใหเจริญเติบโตอยางมีความมั่นคง แตในขณะเดียวกันความมั่นคงของไฟฟาก็เปนยุทธศาสตร ที่สําคัญของประเทศ ซึ่งอาจกอใหเกิดวิกฤตไดการวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาวิวัฒนาการ กิจการไฟฟาของประทศไทยจากอดีตถึงปจจุบัน รวมถึงศึกษาแนวทางการบริหารจัดการระบบ ไฟฟาของตางประเทศ เพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดการระบบไฟฟาที่เหมาะสมในประเทศไทย ผลการวิจัยพบวา ปจจุบันประเทศไทยผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงจากกาซธรรมชาติเปนสัดสวนที่สูง และสวนใหญตองพึ่งพาการนําเขา ดังนั้นในระยะยาว เราควรมองหาแหลงเชื้อเพลิงอื่นๆ ที่สามารถ นํามาใชผลิตไฟฟาโดยเฉพาะพลังงานทดแทน เพื่อลดการนําเขาเชื้อเพลิงธรรมชาติ และลดการนําเขา กระแสไฟฟาจากตางประเทศและพลังงานหมุนเวียนยังมีตนทุนการผลิตที่สูง หรือหากใชผลิตไฟฟา เขาในระบบไฟฟาของประเทศดวยสัดสวนที่มากเกินไป ก็จะมีผลใหโครงสรางอัตราคาไฟฟาใน ภาพรวมสูงขึ้น สงผลกระทบตอตนทุนของภาคอุตสาหกรรมและสภาวะเศรษฐกิจ จึงจําเปนที่ จะตองมีการพัฒนาโรงไฟฟาเชื้อเพลิงหลักควบคูไปกับโรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงจากพลังงานทดแทน การสนองตอบตอความตองการใชไฟฟาที่เพิ่มขึ้นในแตละปสามารถทําไดใน ๔ แนวทางไดแก การใชไฟฟาอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพ การพัฒนาเทคโนโลยีของ โรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียน และพัฒนาโรงไฟฟาเชื้อเพลิงหลักควบคูไปดวยกัน การเรียนรู ขอจํากัดของพลังงานแตละประเภททั้งพลังงานหลักและพลังงานทดแทน จะชวยใหสามารถ กําหนดสัดสวน พื้นที่และปริมาณไดอยางเหมาะสม การสรางสมดุลทางพลังงานประเภทตางๆที่ จะตองมีความสมดุลควบคูกันไป จึงจะทําใหเกิดความมั่นคงของระบบไฟฟาในระยะยาวและยังทํา ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประเทศชาติ

abstract:

ABSTRACT Title : Guidelines for the Proper Management of Electricity System in Thailand Field : Science and Technology Name : Mrs. Piyapan Hannarkin Course NDC Class 57 Electricity is one of the essential factors to emerge the country’s economy and development towards the sustainable growth, in addition the electricity stability takes an important role in the country’s strategy in terms of crisis sensitivity. This research is aimed to study the evolution of Thailand’s electrical affairs from the past to present dates, as well as to study the electricity system management overseas in order to suggest the proper management of electricity system in Thailand. Results of the research reveals that Thailand currently utilizes a huge ratio of natural gas as fuel in electricity generation, whereby most of it was imported. For the long-term basis, it is therefore essential to search for other fuel resources for energy generation, especially the alternative energy, to diminish the importing amount of natural fuel and electric current from other countries. However, the high production cost and high employment ratio of renewable energy in the country’s electricity system may result in the overall elevated electricity price structure which definitely will affect the capital investments in the industrial and economic sectors. It hence is necessary to develop the major fuel electricity plants in line with the alternative energy electricity plants. The responsive measures against the annual rise of electricity demands can be carried out in 4 means; i.e., the economical and efficient consumption; the dual development of the renewable energy power plant technology and the major fuel electricity plants; the studies about limitation of both power categories to enhance appropriate ratio allocation between region and quantity; and the balanced proportion of diversified energy categories for the sustainable electricity system stability in the long run and for the maximum profits of the country.