Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงานไทย เพื่อนำประเทศไทยออกจากกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, รองศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง ยุทธศาสตรการพัฒนากําลังแรงงานไทยเพื่อนําประเทศไทยออกจาก กลุมประเทศที่มีรายไดปานกลาง ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย รองศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ปนปฐมรัฐ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค1) เพื่อวิเคราะห สภาพปญหา ปจจัยเงื่อนไข และ ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ เพื่อนําประเทศไทยออกจากกับดักประเทศที่มีรายไดปานกลาง และ 2) เพื่อนําเสนอยุทธศาสตรการพัฒนากําลังแรงงาน เพื่อนําประเทศไทยออกจากกับดักประเทศที่มี รายไดปานกลาง โดยใชการวิจัยแบบผสมที่มีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัย เชิงคุณภาพเปนการวิเคราะหขอมูลเอกสารวิชาการ งานวิจัย แนวคิดยุทธศาสตร ทั้งของไทยและ ตางประเทศ เพื่อนํามารางยุทธศาสตร โดยกําหนดกรอบเนื้อหาของยุทธศาสตรไว 5 ดาน สําหรับ การวิจัยเชิงปริมาณเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณเชิงลึกจากกลุมตัวอยางแบบเจาะจง ซึ่งเปน ผูทรงคุณวุฒิทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และรวมทั้งผูมีสวนไดสวนเสีย จํานวน 8 คน ผลการวิจัยพบวา สภาพปญหา ปจจัยเงื่อนไข และการพัฒนากําลังแรงงานไทย ทั้ง 5 ดาน พบวา ปจจัย โครงสรางเศรษฐกิจ ภาคการผลิต ทักษะความรูความสามารถ และการวิจัยเพื่อการพัฒนา ขีดความรู ความสามารถดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีความออนแอ ในดานผลิตแรงงานมีการผลิตแรงงาน ไมสอดคลองตอตลาดแรงงานทั้งดานปริมาณและคุณภาพ ยุทธศาสตรการพัฒนากําลังแรงงานเพื่อนํา ประเทศไทยออกจากกับดักประเทศที่มีรายไดปานกลาง พบวา มียุทธศาสตรทั้ง 5 ดาน 1) ดานระบบ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดแก การพัฒนาและยกระดับการศึกษาโดยเนนการพัฒนาองคความรู ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2) ดานการพัฒนากําลังแรงงานไทย ไดแก พัฒนาศักยภาพกําลัง แรงงานและคุณภาพชีวิตของกําลังแรงงานเพื่อสรางผลผลิต รายไดและเพิ่มขีดความมั่นใจในการ ดํารงชีวิตของกําลังแรงงาน 3) ดานปจจัยสนับสนุนที่เอื้อตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตร ไดแก การ พัฒนาปจจัยสนับสนุนใหเอื้อตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนากําลังแรงงานไทย 4) ดานการ ปรับเปลี่ยนโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศ ไดแก พัฒนาเครือขายโครงสรางเศรษฐกิจชุมชนและ เศรษฐกิจกระแสหลัก เพื่อสรางความสมดุลของกําลังแรงงาน และ 5) ดานดานการพัฒนา อุตสาหกรรมดานการผลิตและบริการ ไดแก การพัฒนาสมรรถนะองคกรทําหนาที่เปนศูนยรวม (Hub) กําหนดอุปสงค อุปทานและคาจางของกําลังแรงงานในภาพรวมของประเทศ ในแตละยุทธศาสตรไดมี การกําหนดกลยุทธและตัวชี้วัดที่เชื่อมโยงกันระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และสถานศึกษา ผลการวิจัยที่คนพบ สามารถทําไปประยุกตในการกําหนดยุทธศาสาตรพัฒนากําลังแรงงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ

abstract:

ABSTRACT Title Strategy for the Development of Global Workforce to Advance Thailand Economy and to Lead the Country from the Group of Countries with Medium Income Field Science and Technology Name Assoc.Prof.Prasert Pinpathomrat Ph.D. Course NDC Class 57 The study aims to analyses current problematic condition, factors, and the country development strategies in order to propose a global economic strategic plan for workforce, which eventually, can remove Thailand from the group of countries with medium income, and place the country at a higher income level group. The research approach integrates both the documentary analysis and qualitative examination. Academic documents, relevant research, and Thailand strategic plans were analyzed. In-depth interviews were conducted with eight experts in the fields from the private and governmental sectors, and interested persons. The results show that for Thailand global production sector, there is deficiency in knowledge and skills, research and development, as well as human performance of science and technology. The work force production does not serve the markets in terms of both quantity and quality. Proposal of five global strategies are : 1) Science and technology which involves development of science and technology education, 2) Development of workforce which involves developing work force competence and their life quality in order to enhance their production, their financial and life stability, 3) Driving strategic plans factors which involve creating factors that support the strategic plan of workforce development, 4) Adjustment of Thailand economic infrastructure which involves development of network for community and the country economic structures, and 5) Development of manufacture industry and service industry which involve developing agents’ competence so that they can to act as a Hub; defining demands and supplies, as well as wages and remuneration of workforce as a whole. Tactics and indicators for each plan are also suggested to create links between governmental and private sectors, as well as educational institutions. The research findings can also be applied for the devise of efficient strategic work force plan.