เรื่อง: การศึกษาแนวทางการจัดสรรทรัพยากรบุคคลสายอาชีพ เพื่อการรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประสาน ประวัติรุ่งเรือง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การศึกษาแนวทางการจัดสรรทรัพยากรบุคคลสายอาชีพเพื่อ
การรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายประสาน ประวัติรุ่งเรือง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57
การวิจัย เรื่อง การศึกษาแนวทางการจัดสรรทรัพยากรบุคคลสายอาชีพเพื่อการรองรับเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1.เพื่อศึกษาการจัดการศึกษาของสมาชิกกลุ่มประชาคมอาเซียน 2.
เพื่อศึกษารูปแบบการจัดสรรทรัพยากรบุคคลสายอาชีพของประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้แก่ ประเทศในกลุ่ม
สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย จีน สิงคโปร์ และไต้หวันและ3.เพื่อเสนอ แนวทางการจัดสรรทรัพยากรบุคคล
สายอาชีพเพื่อการรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมุ่งเน้นการวิเคราะห์
แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการศึกษาข้อมูลจากผู้บริหารอุตสาหกรรม ผู้บริหารสถาน
ประกอบการและผู้บริหารสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนทางด้านอาชีวศึกษา เพื่อให้ได้ซึ่งข้อมูลในการ
เสนอแนวทางการจัดสรรทรัพยากรบุคคลสายอาชีพเพื่อการรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ผลการศึกษาจึงสรุป แนวทางการจัดสรรทรัพยากรบุคคลสายอาชีพเพื่อการรองรับเข้าสู่ประชาคม
อาเซียน ดังนี้
1. รัฐบาลควรก าหนดวิสัยทัศน์(Clear Vision Policy) ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของ
ประเทศ เพื่อรองรับแรงงานระดับกลางและระดับล่าง
2. การก าหนดนโยบายของการจัดการศึกษาทั้งในสายอาชีวศึกษาต่อสายสามัญศึกษา (60:40)
3. การสนับสนุนค่าใช้จ่ายรายหัวโดยให้เงินอุดหนุนรายหัวต่อหัวสายอาชีพมากกว่าสายสามัญ
4. รั ฐบ าล และหน่ วยง านที่เกี่ย วข้อง จ ะต้องด าเนินกา ร ร่ วมกัน ว างแน วท างด้ าน
การอาชีวศึกษาของประเทศในด้านปริมาณและด้านคุณภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของ
ตลาดแรงงานอย่างสมดุลรวมทั้งแก้ไขกฎหมาย กฎกระทรวง และระเบียบที่มีอยู่ให้เกิดความคล่องตัวในการ
ด าเนินงาน
5. ให้สถานประกอบการทั้งในภาคอุตสาหกรรมและบริการได้ร่วมเป็นคณะกรรมการใน
การวางแผนการจัดอาชีวศึกษาของประเทศ
6. พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนในสายอาชีวศึกษาที่เป็นระบบทวิภาคีอย่างเป็นรูปธรรม
7. สร้างภาพลักษณ์และทัศนคติที่ดีต่อการเรียนอาชีวศึกษา
8. ปรับระบบค่าตอบแทนในการจ้างงานสายอาชีพให้สูงขึ้นและเป็นที่ยอมรับในสังคม
9. แนะแนวอาชีพและความก้าวหน้าของอาชีพในตลาดแรงงานให้กับนักเรียน ม.ต้น อย่าง
จริงจัง
abstract:
ABSTRACT
Title Study on Human Resource Managing in Vocational
School for the upcoming ASEAN.
Field Social - psychology
Name Mr.Prasarn Prawatrungruang Course NDC Class 57
The Study on human resource managing in vocational school for the
upcoming ASEAN were: 1) to study on education’s management of ASEAN member,
2) to study on pattern of human resource managing in vocational school for
developed countries such as EU, Australia, China, Singapore and Taiwan, 3) to
present the human resource managing in vocational school for the upcoming ASEAN.
This research is qualitative researches aimed at analysis, theory and also gains
information from industrial executives, business executives and vocational
education’s owners for getting information to present in human resource managing in
vocational school for the upcoming ASEAN.
The research have to present in human resource managing in vocational
school for the upcoming ASEAN are followed:
1. The government have to clear vision policy in human resource managing
of the state in support both.
2. To set policies in vocational and high school (60:40) 60 is vocational
school and 40 is high school.
3. To support expenses for vocational school than high school.
4. Government and related organization have join to setting plan for quality
of vocational education and it have to response in labor market.
5. Assign for industrial and Hospitality Company to join as committees in
planning for national vocational management.
6. Develop in teaching quality for dual system in vocational become visible.
7. To create good image and attitude for vocational school.
8. To increase salary for vocational students.
9. To seriously in present about career in the future for middle school
student.