Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาขีดความสามารถการปฏิบัติด้านสงครามไซเบอร์ของกองทัพอากาศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาอากาศเอก ประยูร ธรรมาธิวัฒน์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาขีดความสามารถการปฏิบัติดานสงครามไซเบอรของ กองทัพอากาศ ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย นาวาอากาศเอกประยูร ธรรมาธิวัฒน หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถการปฏิบัติ ดานสงครามไซเบอรของกองทัพอากาศ ขอบเขตการวิจัยเฉพาะในกองทัพอากาศ เปนการวิจัยเปนการ วิจัยแบบผสมผสาน ประชากร คือ ขาราชการกองทัพอากาศที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ในการวิจัยใชกลุมตัวอยางดวยวิธีการสุม เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเปน แบบสอบถาม และการสัมภาษณ ผลการวิจัยพบวา ขีดความสามารถการปฏิบัติดานสงครามไซเบอรของกองทัพอากาศ เชิงรุกอยูในระดับต่ํา แตการปฏิบัติเชิงรับอยูในระดับปานกลาง สําหรับปจจัยที่มีผลกระทบตอขีดความ สามารถในการปฏิบัติดานสงครามไซเบอรคือ กําลังพล พบวายังขาดความรูและทักษะในดานสงคราม ไซเบอรรองลงมาคือโครงสรางการจัดหนวยที่ไมเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติภารกิจ ไมมีแผนแมบทดาน สงครามไซเบอรจึงไมมีแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนใหกับหนวยเกี่ยวของ ทายสุดคือ เครื่องมือที่ใชใน การปฏิบัติภารกิจมีอายุการใชงานมานาน ไมทันสมัย ไมทันเทคโนโลยี สาเหตุมาจากขาดการสนับสนุน งบประมาณที่พอเพียง ดังนั้น เพื่อใหการปฏิบัติดานสงครามไซเบอรของกองทัพอากาศมีขีดความ สามารถเพิ่มขึ้น ประการแรก ตองลงทุนดานงบประมาณเพื่อเตรียมกําลังพล และฝกอบรมใหมีความรู ความสามารถ มีทักษะ พรอมที่จะปฏิบัติภารกิจดานสงครามไซเบอรไดอยางมีประสิทธิภาพ ประการที่ สอง ตองปรับปรุงยุทธศาสตรกองทัพอากาศกําหนดเปาหมายการทําสงครามไซเบอรใหชัดเจน จัดทํา แผนแมบทดานสงครามไซเบอรเพื่อใหหนวยเกี่ยวของนําไปปฏิบัติจัดทําระบบแจงเตือนภัยเมื่อถูก กระทําทางไซเบอรสนับสนุนงบประมาณใหเพียงพอ และสรรหานักรบไซเบอรพรอมอาวุธไซเบอร ที่ทันสมัย เพื่อเตรียมการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหมที่มากับไซเบอร และพิจารณารักษากําลังพล ที่มีความรูความสามารถเหลานี้ใหปฏิบัติงานกับกองทัพอากาศใหไดนานที่สุด โดยดูแลสวัสดิการและ พิจารณาคาตอบแทนพิเศษใหกับผูที่บรรจุเปนนักรบไซเบอรของกองทัพอากาศ

abstract:

ABSTRACT Title : Group Captain Prayoon Thammathiwat Field : Science and Technology Name : Study the development of capabilities in cyber warfare operations ofRTAF. Course National Defense Course Class 57 The purpose of this research is to study the development of capabilities in cyber warfare operations of the Air Force. The advanced information and communications technology are utilized into the mission of the Air Force. The scope of this research is limited to the capability development of the Air Force. The research is a qualitative research. The population for the study is the Air Force personnel who involved in the information technology and communications. The research used a random sample technique with a questionnaire and interviews as instruments. The results from this research indicated that the cyber warfare offensive operations of the Air Force are at a low level. But the defensive operations are at a moderate level. The first issue which affects the cyber warfare capabilities is the Air Force personnel. The research found out that the personnel have an insufficient knowledge and skills in cyber warfare. The second issue is the current organization structure of the Air Force. The structure does not facilitate the cyber warfare operations. There is no master plan for the personnel to follow. The third issue is the age of cyber warfare instruments which have been in operations for a long period of time. The instruments are out of date and behind the modern technology. They are out of date due to lack of sufficient funding from the Air Force. Therefore, the Air Force must take the following actions to increase the cyber warfare capabilities. First, the Air Force must provide a sufficient funding to procure instruments and provide training to the personnel to be ready for the cyber warfare operations efficiently. Second, the Air Force must improve the strategic planning for a clear cyber warfare target. These actions include a master plan of cyber warfare units to implement the operations, provide a warning system for cyber attacks , provide adequate budgetary support for cyber warfare operations, and recruit cyber warriors and arm them with modern cyber weapons. These actions provide capabilities for the Air Force to cope with the cyber threat. The Air Force must provide sufficient benefits to the cyber warriors to keep them in the Air Force as long as possible. The benefits include a welfare being and a proper compensation to the cyber warriors of the Air Force.