Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การปฏิรูปคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและทิศทางการกำหนดท่าทีของไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เชิดเกียรติ อัตถากร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง การปฏิรูปคณะมนตรีความมันÉ คงแห่งสหประชาชาติและทิศทางการกาํหนดท่าที ของไทย ลกัษณะวชิาการเมือง ผวู้ิจยั นายเชิดเกียรติอตัถากร หลกัสูตร วปอ. รุ่นทÉี56 การวิจยันÊีมีวตัถุประสงค์เพืÉอศึกษาพฒั นาการดา้นการปฏิรูปคณะมนตรีความมันคง É แห่งสหประชาชาติ(United Nations Security Council หรือ UNSC) โดยจะวิเคราะห์ปัจจยัทีÉส่งผล ให้มีความจาํ เป็นตอ้งปฏิรูป ศึกษาเปรียบเทียบขอ้เสนอการปฏิรูปของกลุ่มประเทศต่างๆ และเสนอ แนวทางการกาํหนดท่าทีและการดาํ เนินนโยบายของไทยในการปฏิรูปคณะมนตรีความมันคง É ฯ วิธีการวิจัยเป็นลักษณะการวิจยัเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยมีขอบเขต การศึกษาตัÊงแต่ช่วงสงครามเยน็ จนถึงปัจจุบนั ทัÊงนีÊ ได้เน้น ŝ ประเด็น คือ (ř) ประเภทของสมาชิก ภาพ (Ś) สิทธิยบั ยÊง ( ั ś)การเป็นตวัแทนภูมิภาค(Ŝ) ขนาดของการขยายคณะมนตรีความมันคงฯ É และ (ŝ)วิธีการทาํงานของคณะมนตรีความมันคงฯ É ผลการวิจยัชีÊให้เห็นว่ากระบวนการปฏิรูปคณะมนตรีความมนัÉ คงมีความล่าช้าและ คาดวา่ จะใชร้ะยะเวลาอีกนาน แมว้่าทุกฝ่ายตระหนกัถึงความจาํ เป็นในการปฏิรูป แต่ยงัไม่สามารถ ตกลงกนั ไดว้า่ จะปฏิรูปอยา่ งไรเนÉืองจากผลประโยชน์ในแต่ละประเทศยงัแตกต่างกนั มากและยงั ไม่สามารถหาจุดทีÉเป็ นผลประโยชน์ร่วมกันได้ประเด็นทีÉมีความอ่อนไหวมากทีÉสุดคือ การขยาย สมาชิกถาวรและการใชส้ิทธิยบัยÊงั การศึกษาวิจยัไดเ้สนอแนวทางการกาํ หนดท่าทีและการดาํ เนินนโยบายของไทยโดย ในหลักการไทยต้องการเห็นการปฏิรูปทีÉนําไปสู่การสนับสนุนให้คณะมนตรีความมัÉนคงฯ มี ประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบ และความโปร่งใส รวมทÊงัการมีส่วนร่วมของประเทศกาํลงัพฒั นา ขนาดกลางและขนาดเล็กและการมีลกั ษณะของความเป็นตวัแทนของแต่ละภูมิภาค(geographical representation) มากขึÊน เพืÉอสะท้อนสถานการณ์โลกทีÉเปลีÉยนแปลงไป ทัÊงนีÊไทยไม่ประสงค์ให้ ประเด็นการขยายสมาชิกครอบงาํ ประเด็นสําคญั อÉืน ๆ โดยเฉพาะการปรับปรุงวิธีการทาํงานของ คณะมนตรีความมันÉ คงฯและปฏิสัมพันธ์ระหว่างคณะมนตรีความมนคงฯ Éั กับองค์กรอÉืน ๆ ของ สหประชาชาติ นอกจากนีÊ ไทยควรมีบทบาทมากขึÊนในกระบวนการปฏิรูปเพืÉอรักษาผลประโยชน์ แห่งชาติและยกระดบั บทบาทไทยในเวทีระหวา่ งประเทศ

abstract:

Abstract Title The Reform of the United Nations Security Council (UNSC) and Thailand’s position Field Politics Name Mr. Cherdkiat Atthakor Course NDC Class 56 The purpose of this research is to examine the reform process of the United Nations Security Council (UNSC). The study will review the key factors of the reform and look into the positions of different groups of countries in searching for a more efficient and relevant UNSC. The study will also put forward Thailand’s position on this significant issue. The methodology of the study is a qualitative research. It will study the development of the UNSC reform from the Cold War until today. The focus is on 5 areas including (1) membership enlargement (2) rights to veto (3) regional representation (4) working methods and (5) the relationship between the Council and the General Assembly. It is evident that the UNSC reform process is not making significant progress given the wide gap between each group of countries and major powers. Since each country attempts to maximize its interests, it is very unlikely that they will come to a compromise in the near future. The most complicated issues are those questions on permanent membership enlargement and rights to veto. With regard to Thailand, the country could benefit from the UNSC reform which would see the improvement of the working methods that would eventually lead to a more capable, accountable and transparent Council. In the meantime, participation of small and medium states, as well as appropriate geographical representation should be promoted. The debate on membership enlargement must not dominate the reform process over other important issues such as working methods and the relationship between the Council and the General Assembly. In addition, Thailand should take more of an active role in the reform process in order to protect its national interests and to raise its profile in the international arena.