เรื่อง: ยุทธศาสตร์การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 สู่กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคกลุ่มน้ำโขง (GMS)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประจญ ปรัชญ์สกุล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง ยุทธศาสตร์การค้า การลงทุน และการท่องเที
ยวของกล่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน # ุ
ส่กลู ่มประเทศอน ุ ุภูมิภาคล่มนํ(าโขง (GMS) ุ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย นายประจญ ปรัชญ์สก ู ล หลักส ุ ูตร วปอ. ร่นที
ุ 57
โครงการวิจัยนี มีวัตถุประสงค์ เพือศึกษายุทธศาสตร์การค้า การลงทุน และการท่องเทียวของ
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน - สู่กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนําโขง (GMS) วิเคราะห์กระบวนการกาหนด ํ
ยุทธศาสตร์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค และแนวทางความเป็ นไปได้ในการกาหนดกรอบนโยบายพัฒนา ํ
เศรษฐกิจร่วมกนของกลุ ั ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 สู่ความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มนําโขง และตอบรับต่อการ
เปลียนแปลงสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และเพือเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงยุทธศาสตร์ การค้า
การลงทุน และการท่องเทียวของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตนบน 2 และแนวทางการขับเคลือนยุทธศาสตร์สู่
ความสําเร็จ โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ดําเนินการวิจัยจากเอกสารโดยการรวบรวมข้อมูลและการ
สอบถามความคิดเห็นจากหน่วยงานทีรับผิดชอบ บุคคลทีเกียวข้อง และภาคีเครือข่ายความร่วมมือ
ผลการศึกษาพบว่า จุดแข็ง (S) คือความได้เปรี ยบในด้านทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม
ภูมิศาสตร์ทีสําคัญ จุดอ่อน (W) คือกระบวนการบริหารจัดการภาครัฐไม่สอดคล้อง ขาดความเชือมโยงความ
ร่วมมือทังภายในและภายนอกประเทศ ขาดความพร้อมในการพัฒนาสินค้า และอุตสาหกรรม และระบบ
โครงสร้างพืนฐานภายใน โอกาส (O) จากความได้เปรียบของลักษณะภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ สร้างให้เกิดใน
นโยบายการร่วมลงทุนทีสําคัญของไทยกบประเทศเพือนบ้าน ข้อจําก ั ด (T) คือสภาวะเศรษฐก ั ิจ ความมันคง มี
การเปลียนแปลงตลอดเวลา อํานาจการตัดสินใจอยูทีส่ ่วนกลาง กฎระเบียบและมาตรฐานการค้าของกลุ่ม GMS
กรอบยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 มีความสอดคล้องและครอบคลุม แต่
ต้องเพิมความชัดเจนในประเด็นการสร้างความสมดุลของอุปสงค์และอุปทานในตลาดการค้า พัฒนา
กระบวนการของกลุ่มจังหวัดในภาพรวม สนับสนุนเกิดการแข่งขันความร่วมมือในกลุ่ม GMS และ AEC
สร้างมาตรฐานสินค้า ส่งเสริมเกษตรแบบพันธสัญญา สร้างจุดเด่นของสินค้า กาหนดโซนพื ํ นทีโดยใช้ GI
พัฒนาการค้าเมืองชายแดน ยกระดับการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมและสุขภาพ ควบคู่กบวิถี ั
ชุมชนและส่งเสริมให้เป็ นจุดขาย และสร้างกระบวนการบริหารจัดการของกลุ่มจังหวัดทีมีประสิทธิภาพ
และสร้างความสัมพันธ์กบประเทศเพือนบ้าน ข้อเสนอแนะ ให้มีการปรับโครงสร้างกา ั รบริหารจัดการ
ภาครัฐของกลุ่มจังหวัดให้อํานาจการตัดสินใจในระดับภูมิภาคและสนับสนุนกลไกการสร้างกระบวนการ
เชือมโยงกบประเทศเพือนบ้านในกลุ ั ่ม GMS
abstract:
ABSTRACT
Title : The study of Trade, Investment and Tourism strategy in the upper northern
provincial cluster 2 to Greater Mekong Subregion (GMS)
Field : Economics
Name : Mr.Prachon Pratsakul Course : NDC Class : 57
The purposes of this research are to study regarding trade, investment and tourism cooperation
strategy in upper Greater Mekong Subregion (GMS), to analyze the strategic development procedure by using
SWOT analysis of the upper north provincial region 2 in supporting the ASEAN Economic Community (AEC)
and to provide the guidelines to improve this strategy in the Subregion to achieve its strategic implementation.
The study method is applied a qualitative research by collecting data from academic documents
and interviewing with responsible agencies concerned and networking organizations.
From this research found that the strengths are the advantages of natural resource, culture and
geography in Chiang Rai Province; the weaknesses are the ineffective public administration system causing
insufficient collaboration linkage between domestic and international besides the inadequate product and
industrial development and unprepared basic infrastructure; the opportunity is the advantage of economic
geography creating an important policy for joint investment with neighboring countries; and the threats are
unstable economic and political situation and centralized public administration system manipulating rules and
regulations for GMS Trading.
Currently Trade strategy framework for upper north provincial region 2 is appropriate and
inclusive. However, it is necessary to clarify the balancing between demand and supply in the market, develop
provincial cluster working procedure, promote an agriculture obligation, create outstanding point of products,
divide zoning by using Geographical Indication, develop trade at border cities, enhance Eco – Cultural and
health tourism together with promote local livelihood as a selling point, implement provincial cluster
administration mechanism to be performed effectively and create a collaboration with neighboring countries.
The researcher’s recommendations are to transform from centralized to decentralized public
administration to provincial cluster level. These provinces could exercises their self-governing, making their
own decision and promoting networking mechanism with GMS neighboring countries.