Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางและมาตรการการกำหนดเขตการใช้ที่ดินเพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรที่ดินของชาติ กรณีศึกษาจังหวัดน่าน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว เบญจพร ชาครานนท์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางและมาตรการการกําหนดเขตการใชที่ดินเพื่อความยั่งยืนของ ทรัพยากรที่ดินของชาติ: กรณีศึกษาจังหวัดนาน ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย นางสาวเบญจพร ชาครานนท หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57 การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาและวิเคราะหการใชที่ดินในพื้นที่จังหวัดนาน เพื่อกําหนด แนวทางและมาตรการการกําหนดเขตการใชที่ดิน และเสนอแนะแนวทางการใชที่ดินใหเหมาะสมกับสมรรถนะและ สถานการณปจจุบัน เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาและวิเคราะหนโยบาย แผนการใชที่ดิน ปญหา และอุปสรรคการใชที่ดินในพื้นที่จังหวัดนาน รวมถึงขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิ เพื่อใหไดแนวทาง สําหรับการบริหารจัดการที่ดินของจังหวัดนาน ผลการวิจัยสรุปไดวา ทรัพยากรดินเสื่อมโทรมจากการ ชะลางพังทลาย เนื่องจากการใชที่ดินปลูกพืชไรในพื้นที่ลาดชันในเขตปาสงวน กอใหเกิดปญหาดินถลม น้ําทวม ความแหงแลง ไฟปา และหมอกควัน การกําหนดเขตการใชที่ดินในเขตปาไมแบงออกเปน 4 เขต ยอย ไดแก 1) เขตคุมครองสภาพปา 2) เขตฟนฟูสภาพปา 3) เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต เงื่อนไข และ 4) เขตรองรับเปนพื้นที่เกษตรกรรม โดยมีแนวทางการพัฒนาตามสภาพการใชที่ดิน ปจจุบัน สงเสริมใหมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา และปรับเปลี่ยนรูปแบบในพื้นที่ที่เสี่ยงตอการชะลาง พังทลายของดิน กําหนดเขตความเหมาะสมปลูกพืชในพื้นที่เกษตรกรรมออกเปนเขตทํานา เขตปลูก พืชไร เขตปลูกไมผล การอนุรักษพื้นที่ปาไมและจัดที่ดินทํากินใหราษฎร ตองทําควบคูกัน โดยบังคับ ใชกฎหมายปองกันและปราบปรามการบุกรุกพื้นที่อยางจริงจัง สรางความรวมมือกับประชาชน และ ควบคุมกําหนดเขตการใชที่ดินใหเหมาะสม มีความเปนธรรมและเทาเทียมกัน การบริหารจัดการที่ดิน ของจังหวัด ควรทําในพื้นที่ลุมน้ํายอยในลักษณะบูรณาการ เรงรัดการใชพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 สงเสริมและถายทอดเทคโนโลยีการผลิตตามระบบการเกษตรที่ดี สงเสริมตอยอดงานวิจัย การใชประโยชนที่ดินทํากินของราษฎรในเขตปาที่มีความลาดชันสูง ติดตามการใชที่ดินในระดับจังหวัด อยางตอเนื่อง และมีระบบขอมูลที่เปนเอกภาพ การรวมอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมของเอกชน ใชหลัก CSR โดยมาตรการลดหยอนดานภาษีและหนวยงานภาครัฐรวมกับเอกชนสงเสริมศักยภาพ การทองเที่ยวธรรมชาติเชิงนิเวศ โดยชุมชนเพื่อชุมชน

abstract:

ABSTRACT Title Guideline and measure land use zoning for national sustainable soil : Nan Province case study Field Science and Technology Name Ms. Benjaporn Chakranon Course NDC Class 57 The research was aimed to study and analyze the land used of Nan Province in order to determine guidelines and measures for land use zoning including recommendations for the land suitability and capacity in the present status. The study is qualitative research by analyzing land use policies and land use planning, problems and obstacles of land used in Nan Province. Suggestions from the experts were incorporated into the Nan land use management. The study results indicated the soil deterioration from erosion caused by plantation in the forest area. Land use zoning in the forest area is classified into 4 zones 1) Forest protected zone 2) Forest restored zone 3) Natural resources restored zone with condition 4) Agricultural zone. The guidelines for develop the land are to promote the measures for soil and water conservation and change pattern crop in risk area. To determine the suitable areas for specific plantation such as paddy, field crop and fruit. To provide both forest conservation and zone for community plantation areas by seriously legal enforcement with stakeholder cooperation and controlling the suitable land use. In addition, the land use in province should be managed in small watershed integration . To accelerated the use of Land Development Act, B.E. 2551. Technology transfer of good agricultural practice should be promoted. The researches of high slope land used in forest zone should be further conducted. Land use in the province should be continuously monitored. Information related to land use should be unity. CSR by private sectors for forest conservation and restoration should be promoted and tax reduction could be incentive measure. Governmental agencies together with private sectors promote capacity of ecology tourism in the way of "for community by community".