Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการจัดตั้งอนุญาโตตุลาการปรองดองแห่งชาติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย บุรณัชย์ สมุทรักษ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง อนุญาโตตุลาการปรองดอง ลกัษณะวชิา การเมือง ผ ู้วจิัย นพ.บุรณชัย สมุทรักษ์ ์ หลกัสูตร วปอ. รุ่นท 57 ีÉ การวจิยัครÊังนีÊมีวตัถุประสงคเ์พÉอืศึกษาและวิเคราะห์กระบวนการในอดีต และปัจจุบนั ในการสร้างความปรองดองในชาติ และถอดบทเรียนความสําเร็จ และล้มเหลวในการคลีÉคลาย สถานการณ์ความรุนแรงทางการเมือง และเสนอแนวทางในการจดั ตÊงัองคก์รโดยอาศยัอาํนาจตาม รัฐธรรมนูญ อนั มีภารกิจเฉพาะในการสร้างความปรองดองในชาติโดยขอบเขตของการวิจยันัÊนได้ ศึกษารูปแบบ และกระบวนการ ในการสร้างความปรองดองในสังคม และกลไกในการจดั ตÊงัองคก์ร เฉพาะตามรัฐธรรมนูญ ซึÉงเป็ นการวิจัยในเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาวิเคราะห์กระบวนการ รู ปแบบ และ ลกัษณะของการสร้างความปรองดองในประเทศและแนวทางทีÉสัมฤทธิÍผลในต่างประเทศโดยเน้นทÉี ปัจจยัทÉีส่งผลต่อความสําเร็จและสาเหตุของความล้มเหลว เพืÉอนาํไปสู่การปฏิบตัิได้จริง ภายใต้ เงืÉอนไข และบริ บทของการเมือง และสังคมไทยประโยชน์มีกลไก และองค์กรถาวรทีÉสามารถ ป้องกนั และแกไ้ขปัญหาความขดัแยง้และความรุนแรงโดยไม่ตอ้งอาศยัการปฏิวตัิรัฐประหารความ ขดัแยง้ทีÉผา่ นมาในแต่ละครÊังมีลกั ษณะทีÉวิกฤตมากขึÊนตามลาํดบั ผูว้ิจยัจึงเห็นวา่ ควรทีÉจะมีกลไกทีÉ สามารถใชง้านไดใ้นภาวะวิกฤต ไดแ้ก่กลไกอนุญาโตตุลาการพิเศษ และหลกั ประกนั ในเรืÉองการ รักษาความปลอดภยัจากความรุนแรงในภาวะวิกฤต โดยกลไกนีÊควรทีÉจะสามารถตอบสนองต่อ เหตุการณ์ได้ทนั ท่วงทีดาํ เนินการโดยอาํ นาจทÉีจาํกดัแต่รองรับโดยรัฐธรรมนูญถูกใช้เมืÉอจาํ เป็น จริงๆ ถูกกาํ หนดด้วยระยะเวลา และสถานการณ์ตรวจสอบได้และถือหลกัความรับผิดชอบต่อ ประชาชนเป็ นหลัก รัฐเป็ นรอง จากการศึกษาทัÊงในเชิงทฤษฎีและการสังเกตความขดัแยง้ใน สังคมไทยทีÉผ่านมา ผูว้ิจยัเห็นว่าการแกไ้ขโดยการหยุดประชาธิปไตยแมเ้พียงชวคราว หยุดการใช้ ัÉ รัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ทางออกทีÉเหมาะสมทีÉสุดในการป้องกนั ประเทศเขา้สู่ทางตนั เพราะเป็นการทาํให้ องคาพยพแห่งรัฐอÉืนๆ ตอ้งสะดุดหยุดลงไปดว้ย โดยแทท้ Éีจริงแลว้กลไกและอาํนาจทีÉจาํ เป็นในการ ยุติหรือป้องกนัความรุนแรงนÊนั สามารถใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการพิเศษ และการคุม้ครอง ประชาชน ซึÉงผูว้จิยัเรียกกลไกนีÊวา่ อนุญาโตตุลาการปรองดองภายใตศ้าลรัฐธรรมนูญ ซึÉงเป็ นกลไก เทียบเคียงไดก้ บัการสร้างสันติภาพในรัฐทีÉมีความขดัแยง้และความรุนแรงทีÉเป็ นสากล

abstract:

ABSTRACT Title : Arbitration for Political Reconciliation Field : Politics Name :Dr. Buranaj Smutharaks Course NDC Class 57 Political conflict requires political solutions rooted in the principles of the rule of law. However, often unsuccessful mediation and resolution results in protracted violence between involved parties. In this study, Thailand’s 15-year long violent political conflict has been analysed as an ongoing social discourse on the interplay between constitutionalism and rule of law vs mandate and populism and its effect upon state survival vs failure. This conflict was embodied in the former Draft Constitution’s failure of passage through its vetting body, the National Reform Council late last year (2015), partly due to its proposed mechanism to set up a National Committee for Reform and Reconciliation, perceived to be controlled by the current National Council for Peace and Order (NCPO). The subsequently setting up of the Constitutional Drafting Committee and its proposal to endow exclusive powers to a proposal to expand the existing Constitutional Court with jurisdictions intended to be the final arbiter for political conflict has been met with the same level of resistance that led to the demise of the aforementioned previous Draft Constitution. However, this study proposes an innovative adjunct to the CDC’s current proposal through the study the use of alternative dispute resolution mechanisms and its potential application to violent political conflicts – namely the concepts of transitional and restorative justice within the context of the principles and mechanisms of arbitration on peace enforcement, peacekeeping, mediation and conflict resolution through the key usage of Former Prime Ministers as not directly involved in any current potentially violent political conflict but who can deliberate as Arbiter Tribunals as well as effectively persuade conflicting parties towards a peaceful resolution.